Page 6 - การถอดบทเรียนการทำงานA4
P. 6
ี
ส่วนท่ 1 บทนำ
ความเป็นมา
้
่
เรื่องเริ่มต้นจากในชวงวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศปีพ.ศ. 2540 ที่ผ่านมา การมีโอกาสเขา
ไปทำงานด้านการติดตามและประเมินผลโครงการลงทุนเพื่อสังคม (Social Investment Project)
ั
ซึ่งได้รับการสนับสนุนแบบให้เปล่าจากกองทุนเพื่อการลงทุนทางสงคม(Social Investment Fund -
SIF) แก่โครงการที่ตอบสนองความต้องการของชุมชนและเพื่อชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ
ปรับโครงสร้างทางสังคมอันเป็นการสร้างฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมุ่งเน้นการกระจายอำนาจ
สร้างความเข็มแข็งแก่องค์กรชุมชนและองค์กรส่วนท้องถิ่น สร้างเศรษฐกิจชมชนให้มีเครือข่ายที ่
ุ
สมบูรณ์มีประสิทธิภาพ และกระตุ้นให้คนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมอย่างกว้างขวาง
ทำให้ตระหนักถึงพลังของการติดตามประเมินผลในฐานะเครื่องมือสร้างการเรียนรู้กับคนทำงาน
้
โครงการให้ได้ผลดก็ต่อเมื่อเราสามารถปรับเปลียนทัศนะเชิงลบที่มีต่อการประเมินของผู้ที่เกียวของ
่
่
ี
้
กับโครงการพฒนานันๆ
ั
และสืบเนื่องต่อมาเมื่อไดทำงานด้านการติดตามประเมินผลให้กับสำนักงานกองทุนสนับสนุน
้
การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และงานการพัฒนาศักยภาพด้านการติตตามประเมินผลภายใน การ
จัดการความรู้ การถอดบทเรยนและสังเคราะห์ความรู้ให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน
ี
่
องค์กรไม่แสวงหากำไร ตลอดจนองค์กรภาคประชาสังคมในช่วง 20 ปีได้ช่วยยืนยันความเชื่อซง
ึ
เป็นหลักคิดพื้นฐานของคู่มือฉบับนี้ว่า การประเมินเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือในการสร้างความรู้และ
กระบวนการเรียนรู้ให้นักพัฒนาและคนทำงานได้จริง นอกจากนั้นยังทำให้เห็นช่องว่างของการ
ประเมินโครงการพัฒนาที่ผ่านมาว่า คนทำงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มพี่น้องนักพัฒนาจากองค์กร
พัฒนาเอกชน ตลอดจนองค์กรภาคประชาสังคมได้ใช้ประโยชน์จากผลการประเมินค่อนข้างน้อย
้
เหตุเพราะผลประเมินที่ไดรับไม่สอดคล้องและไม่ทันต่อสถานการณ์การทำงานในโครงการ รวมถึง
้
หากจะให้ประเมินผลการทำงานของโครงการตนเองด้วยแล้วก็ยังรู้สึกไม่มั่นใจในความรูและทักษะที ่
ั
มี ทำให้การประเมินจึงเป็นเหมือนยาขมและกลายเป็นสิ่งลดทอนพลังมากกว่าการเสริมพลง
ิ
คนทำงานโครงการไปโดยปรยาย
้
จากประสบการณ์ข้างตนนั้นอาจนับได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นและที่มาของคู่มือการถอดบทเรียน
ู
้
และสังเคราะห์ความรเล่มนี้ โดยถูกพัฒนาขึ้นภายใต้ความเชื่อที่ผ่านการพิสูจน์ซ้ำและยืนยันด้วย
ี
บทเรยนจากการทำงานว่า เราสามารถใชการประเมินเป็นเครื่องมือเพื่อพัฒนาและสรางการเรยนร ้ ู
ี
้
้
ให้กับคนทำงานซงก็ส่งผลต่อคุณภาพงานและผลิตภาพโดยรวมขององค์กร รวมทั้งยังอาจส่งผล
ึ
่
ื่
ุ
กระทบต่อชมชนสังคมได้ในทีสุด ด้วยเหตุนี้การประเมินจึงเป็นเครื่องมือสำคัญเครองมือหนึ่งในการ
่
จัดการความร (Knowledge Management: KM) ที่เราอาจรู้จักกันในชื่อเรียกว่า การถอดบทเรยน
ี
้
ู
การทำงาน(Lessons Distilled) ผ่านเทคนิคที่คุ้นชินคือ การถอดบทเรียนหลังปฏิบัติการ (After
Action Review: AAR) หรือ การระดมความคิดจากเพื่อน(Peer Assist: PA) หรือการเรียนรู้จาก
วิธีการปฏิบัติทีได้ผลดี (Transfer of Best Practices) เป็นต้น และผนวกด้วยความเชื่อว่าหากเรา
่
่
ั
คู่มือการถอดบทเรียนการทำงาน (Lessons Distilled) โดยประภาพรรณ อุนอบและณภทร ประภาสุชาติ
1