Page 7 - การถอดบทเรียนการทำงานA4
P. 7

สามารถเสริมพลังให้นักพัฒนาจากองค์กรภาคประชาสังคมและหรือองค์กรชุมชนซึ่งมีพื้นฐานเป็น
                                                                                        ้
                                                                                        ู
                        ิ
                                                   ู
                                                   ้
               นักปฏิบัตการให้สามารถจัดการความรได้ ด้วยการใช้การประเมินสร้างความรจากการทำงานและ
               นำความรู้นั้นๆไปใช้เพื่อยกระดับคุณภาพการทำโครงการพัฒนาแล้ว ระบบการติดตามประเมินผล
                                            ่
                                                  ่
                             ั
                                                              ิ
               จะสามารถฝังตวและกลายเป็นสวนหนึงของการบรหารจัดการโครงการได้โดยไม่เป็นกิจกรรมแปลก
               แยกและดำเนินการแบบแยกส่วนดังเช่นที่ผ่านมาอีกต่อไป
                       และด้วยเป้าหมายของโครงการพัฒนาใดๆมักเริ่มต้นที่การมุ่งไปสู่การเปลี่ยนแปลง
                                                                           ่
                                                                           ื
                                                                                                        ็
               พฤติกรรมผู้ที่เกี่ยวข้องด้านความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติ ความเชอ ตลอดจนการกระทำในประเดน
                                                                                                        ้
               ต่างๆ ของแต่ละมิติทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรมหรือ สิ่งแวดล้อม เป็นตน
               ตัวอย่างเช่น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้สนับสนุนให้หน่วยงาน
               ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม สถาบันการศึกษาและชุมชนท้องถิ่นมีขีดความสามารถในการ
               ดำเนินงานสร้างเสริมสขภาพโดยขับเคลื่อนทั้งในเชิงโครงสร้างการทำงาน เชิงนโยบาย เชง
                                      ุ
                                                                                                        ิ
               มาตรการทางสังคมและสร้างการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพและวิถีชีวิตของคนที่เอื้อต่อการ
               สร้างเสริมสุขภาวะ(ซึ่งหมายถึงการมีสุขภาพดีใน 4 มิติได้แก่ กาย จิต ปัญญาและสังคม) (สสส.,

               มปป.ก: 6-7) ผ่านการทำโครงการสร้างเสริมสุขภาวะระดับต่างๆทั้งในแผนเชิงประเด็น(Issues-
               Based) แผนเชิงพื้นทีและกลุ่มเป้าหมาย(Setting-Based) หรือแผนเชิงระบบ (System - Based)
                                    ่
               (สสส., มปป.ข: 41) ดังนั้นในคู่มือนี้จะใช้โครงการสร้างเสริมสุขภาพของสสส. เป็นกรณีตัวอย่าง

                         ื
                         ่
               รปธรรมเพอเป็นภาพแทนเวลากลาวถึงสงทีเรยกว่าโครงการพฒนา
                                                    ิ
                                                      ่
                                                        ี
                 ู
                                                                       ั
                                              ่
                                                    ่
                       การทำงานดานการสร้างเสริมสุขภาพ  ในทัศนะของสำนักงานกองทุนสนับสนุน
                                  ้
                                                                                                    ้
               การสร้างเสริมสุขภาพ  (สสส.) ถือเป็นยุทธวิธีในเชิงรุกที่จะให้ผลในการแก้ปัญหาสุขภาพไดดีที่สด
                                                                                                        ุ
               เห็นได้จากความพยายามสนับสนุนให้มีการพัฒนาทักษะการทำงานด้านสร้างเสริมสุขภาพด้วยการ
                                                                                       ึ
                                                                                       ้
                                                                                                       ่
                                                                                            ั
                                                                      ้
                                                               ื
                                                                              ุ
                                                                           ิ
               เป็น “ผู้สร้างเสรมสขภาพ” (Health Promoter) หรอนักสรางเสรมสขภาวะ ขนในสงคมไทยในชวง
                                 ุ
                               ิ
               20 ปีที่ผ่านมา โดยหวังว่าจะเป็นกลไกสำคัญที่ผลักดันให้ประชาชนมีสุขภาพดีระยะยาวทั้งในเชง
                                                                                                        ิ
               โครงสร้างการทำงาน ในเชิงนโยบายและมาตรการทางสังคม การบริการด้านสุขภาพ รวมไปถึง
               การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพและวิถีชีวิตของคน แต่ด้วยปัญหาสุขภาพเองที่มีความ
               หลากหลายทั้งในเชิงประเดน มีความซับซ้อนเกี่ยวข้องกับมิติต่างๆอีกทั้งยังทับซ้อนกับปัญหาทาง
                                         ็
               สังคมอื่นๆ(สสส., มปป.ข: 39-40) จึงทำให้มีความเป็นพลวัตสูงแปรเปลี่ยนไปตามกระแสการ
               เปลี่ยนแปลงทางสังคมที่กำลังเข้าสู่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ซึ่งเป็นยุคของดิจิทัล สห
               วิทยาการและระบบอัตโนมัติ ที่พรมแดนระหว่างโลกความจริงและโลกไซเบอร์มีสถานะคลุมเครือ
               โดยคนกลับมาเป็นหัวใจหลักในยุคแห่งการบูรณาการและสังคมที่เชื่อมโยงคนกับวิทยาการเขา
                                                                                                        ้
                                                                                    ิ
               ด้วยกันนั้นต้องการบุคลากรผู้มีความสามารถใหม่ที่ต้องเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวต (ตรองสิริ ทองคำใส,
               (แปล), 2562: 14, 40-57)
                                                                                                  ่
                       นักสร้างเสริมสุขภาวะจึงจำเป็นต้องรู้เท่าทันกับธรรมชาติของปัญหาสุขภาพทีกำลังจะ
                   ่
                                     ่
                                 ั
                                         ่
                                                                                                        ั
                       ู
               เปลียนรปแบบไป ตวอยางเชน เราต้องเผชิญกับโรคอุบัติใหม่ในวงรอบที่มีระยะเวลาสั้นลง อีกทั้งยง
               ต้องเตรียมตัวให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เพราะยิ่งนานวัน สิ่งที่มาหักล้างความรู้กับ
               ข้อมูลด้านสุขภาพเดิมๆนั้นยิ่งเกิดเร็วขึ้น งานด้านการสร้างเสริมสุขภาพจึงทวีความซับซ้อนขึ้นและ
                                                                            ่
                                                                                    ั
                           คู่มือการถอดบทเรียนการทำงาน (Lessons Distilled) โดยประภาพรรณ อุนอบและณภทร ประภาสุชาติ
                                                                                                        2
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12