Page 8 - การถอดบทเรียนการทำงานA4
P. 8
ุ
ี
้
ยากที่จะประสบผลสำเร็จเช่นเดิม จึงเป็นแรงผลักดันให้นักสร้างเสริมสขภาวะต้องกลายเป็นผูเรยนร ้ ู
ตลอดชีวิตไปโดยปริยาย และหากต้องไปทำงานสร้างเสริมสุขภาวะกับประชากรกลุ่มเฉพาะ ได้แก่
ื
กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้หญิง มุสลิม ผู้มีปัญหาสถานะบุคคลและแรงงานข้ามชาติ คนพิการ หรอผู้ต้องขัง
ุ
หญิง รวมทั้งกลุ่ม LGBT ซึ่งมีทัศนะด้านลบของคนในสังคมเป็นโครงสร้างกดทับทำให้ปัญหาสข
ู
ภาวะของกลุ่มคนเปราะบางดังกล่าวเพิ่มระดับความรุนแรงและความยุ่งยากซับซ้อนขึ้นเป็นทวีคณ
โดยเปรียบเทียบกับกลุ่มประชากรทั่วไปด้วยแล้ว ก็ยิ่งมีความจำเป็นรวมทั้งต้องการความรู้เฉพาะ
ิ
้
ุ
ประเด็นเฉพาะพื้นที่นั้นๆในการทำงานสรางเสรมสขภาวะมากขึ้น
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพได้ตระหนักถึงความสำคัญและจำเป็นของ
พลังทางปัญญาต่อการแก้ปัญหาทางสุขภาวะทียากและซับซ้อนอย่างสร้างสรรค์สำหรับสังคมไทย
่
ุ
ุ
่
จึงกำหนดเป็นยทธศาสตรหลกหนึงในยทธศาสตร์ “สานสามพลัง” ของสสส. รวมถึงกำหนดให้การ
ั
์
พัฒนาศักยภาพบุคลคล องค์กรและชุมชนท้องถิ่นเป็นยุทธศาสตร์เฉพาะไว้ในแผนหลักสสส. 3ปี
ั
(พ.ศ. 2561-2563) (สสส. ม.ป.ป.ข: 17-18) และได้ถ่ายทอดลงไปสู่ยุทธศาสตร์ของแผนหลก
ุ
่
ต่างๆ ตัวอย่างเช่น แผนสุขภาวะประชากรกลมเฉพาะ 3 ปี (พ.ศ. 2561-2563)กำหนดให้มี
ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพภาคีและกลไกภาคประชาสังคม เพื่อเสริมพลังภาคีในระดับบุคคล
องค์กร การพัฒนาศักยภาพผู้นำรุ่นใหม่ เพื่อให้มีศักยภาพ ขีดความสามารถในการจัดการตนเอง
และการทำางานเชิงรุกเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางสุขภาวะในประชากรกลุ่มเฉพาะ รวมถึงการ
หนุนเสริมพลังเครือข่ายภาคี การพัฒนาระบบ กลไก และสภาพแวดล้อมที่ยั่งยืนในการเสริมพลง
ั
ุ
ุ
่
เครือข่ายที่ทำงานเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสขภาวะของประชากรกลมเฉพาะ(สสส. ม.ป.ป.ข: 113-
114) ขณะที่สำนักพัฒนาภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ (สภส.) มีการวิเคราะห์ถึงความต้องการ
หนุนเสริมด้านการพัฒนศักยภาพของภาคีเครือข่ายได้ข้อสรุปว่า สมรรถหลักที่จำเป็นต่อการ
่
้
ั
ขบเคลือนการสร้างเสริมสุขภาพตามแนวทางของสสส.นัน (ThaiHealth Coe Competencies) ควร
ประกอบด้วยสมรรถหลัก 5 กลุ่มและมีสมรรถนะเสริม 2 กลุ่มโดย 1 ในกลุ่มยอยของสมรรถนะ
่
ุ
เสริมก็คือ การจัดการความรู้ด้านสขภาวะ (Knowledge Management in Health Promotion)
(ภรณี วัฒนสมบูรณ์และคณะ, 2562: 2-3)
ในช่วงเวลาที่ผ่านมา การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) ถูกพิสูจน์ซ้ำ
ุ
แล้วซ้ำเล่าว่า เป็นเครื่องมือสำคัญที่เอื้อให้นักสรางเสรมสขภาวะสามารถพฒนาทักษะเพอการเรยนร ้ ู
ี
ั
่
้
ื
ิ
ตลอดชีวิตได้ไม่ยากนัก ด้วยการจัดการความรู้ เป็นการสร้างและจัดกระบวนการให้ได้ความรู้ที ่
ถูกต้องเหมาะสมไหลไปยังบุคคลที่ถูกต้อง (right person) ณ เวลาที่เหมาะสม (right time) ทำให้
บุคคลแลกเปลี่ยนสารสนเทศและนำไปใชเพื่อเพิ่มการบรรลุผลสำเร็จ (performance) ขององค์กร/
้
งาน การจัดการความรู้ก็เช่นเดียวกับเครื่องมือทางสังคมอื่นๆ ที่มีลักษณะสำคัญคือไม่หยุดนิ่ง
ั
ตายตัว มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปตามพลวตของสังคม ดังนี้ (วิจารณ์ พานิช, 2559: 1-9)
่
ั
คู่มือการถอดบทเรียนการทำงาน (Lessons Distilled) โดยประภาพรรณ อุนอบและณภทร ประภาสุชาติ
3