Page 9 - การถอดบทเรียนการทำงานA4
P. 9

ี
                แนวคิดเกยวกบการจัดการความรู้
                              ั
                          ่
                ในอดีต                                      ปัจจุบัน
                ความรู้เป็นทรัพยากรที่รวบรวมได้ วัด และ ความรู้เป็นสิ่งที่เลื่อนไหล ไม่เป็นเส้นตรง และ
                ใช้ได้ตามเทคนิควิธีการจัดการ                ยากที่จะวัดหรือจัดการ

                เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือหลักในการเข้าถึง คนมีความสำคัญกว่าเทคโนโลยี เพราะการ
                                                                         ้
                                                                         ู
                ทรพยากร                                     จัดการความรเป็นกิจกรรมของมนุษย์ ที่จะต้อง
                   ั
                                                              ้
                                                            เขาใจและจัดระเบียบมนุษย
                                                                                     ์
                                                                                            ่
                                                                                                 ุ
                                                          ้
                                                                                    ่
                                                                                         ื
                                                                                    ุ
                เน้นที่ปัจเจกบุคคล ยิ่งตัวปัจเจกบุคคลใช เน้นการดำเนินการเป็นกลมเครอขาย ชมชนและ
                ความรู้มาก ก็จะยิ่งมีผลผลิตมาก              ผ่านการปฏิบัต
                                                                          ิ

                       แม้การจัดการความรู้ยุคใหม่จะมีลักษณะสำคัญต่างไปจากอดีตที่ผ่านมา แต่เป้าหมายหลก
                                                                                                        ั
               ยังคงเดิมคือต้องการช่วยเพิ่มผลิตภาพหรือยกระดับคุณภาพการทำงาน และแนวทางหนึ่งของการ
               จัดการความรู้ในยุคใหม่นี้ที่หน่วยงานต่างๆยอมรับกันว่าใช้ได้ผลดีและนำไปใช้กันแพร่หลาย คอ
                                                                                                        ื
                                                                                                          ี
               การเรียนรู้จากบทเรียนการทำงาน (Lessons Learned) และ การเรียนรู้จากวิธีการปฏิบัติที่ด
                                                                                    ั
                                                                              ่
               (Transfer of Best Practices) (วิจารณ์ พานิช, 2559: 54-68) แตที่สำคญกว่า คอ เป็นแนวทาง
                                                                                            ื
               ที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน สามารถผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงาน กิจกรรมหรือการ
                                                            ุ
                                                                     ้
                                                          ิ
                                                    ้
                                      ั
                  ิ
               บรหารจัดการโครงการพฒนาของนักสรางเสรมสขภาวะไดง่าย
                       และหากใช้วงจรชีวิตของโครงการพัฒนา(Program/Project Cycle) ที่นักสร้างเสริมสข
                                                                                                        ุ
               ภาวะหรือนักพัฒนาคุ้นชินอยู่ก่อนแล้วเป็นตัวตั้ง ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมสำคัญ 3 ระยะคือ ก่อน
               ดำเนินงานหรือต้นน้ำ ระหว่างดำเนินงานหรือกลางน้ำ และระยะสิ้นสุดการดำเนินงานหรือปลาย
               น้ำ แนวทางการจัดการความรู้ทั้ง 2 วิธีการข้างต้นจะเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยสร้างการเรียนร  ู ้
                          ้
                                                                     ้
                                                                        ั
                                                                                             ิ
               ให้กับนักสรางเสรมสขภาวะไดในทุกระยะการทำงาน รวมทังยงชวยเพมโอกาสการบรหารจัดการให้
                                                                               ิ
                                                                          ่
                                                                               ่
                               ิ
                                  ุ
                                           ้
                     ุ
                                                                         ้
                                            ื
                                                               ุ
               บรรลตามเป้าหมายของงานหรอโครงการไดอยางมีคณภาพอีกดวย
                                                       ้
                                                          ่
                                                                                      ิ
                       สำหรับแนวทางการจัดการความรู้ที่ได้จัดทำเป็นแนวทางปฏิบัต(Practice Guideline)
               สำหรับ นักพัฒนาชุมชน นักสร้างเสริมสุขภาวะ และหรือผู้สนใจในการสร้างความรู้และใช้ความร       ู ้
               เพื่อยกระดับคุณภาพการทำงานในครั้งนี ประกอบด้วย 2 วิธีการหลักด้วยกัน กล่าวคือ การถอด
                                                     ้
               บทเรียนการทำงาน (Lessons Distilled) และ การสังเคราะห์ความร(Knowledge Synthesis)
                                                                                  ้
                                                                                  ู
               วิธีการปฏิบัติที่ได้ผลดี (Best Practices)โดยจัดทำเป็นคู่มือ 2 ชุดด้วยกัน คือ
                       ชุดแรก เป็นคู่มือการถอดบทเรียนการทำงาน (Lessons Distilled) ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลก
                                                                                                        ั
                                   ี
                                                                                      ่
                                               ี
                  ื
                  ่
                             ี
                                       ู
               เพอนำเสนอวิธการเรยนรจากบทเรยนการทำงานผ่าน 3 เทคนิคสำคัญตามชวงระยะของวงจรการ
                                       ้
               ดำเนินโครงการคือ การถอดบทเรียนก่อนดำเนินงาน (Peer Assist: PA) ระหว่างดำเนินงาน
               (After Action Review: AAR) และเมื่อสิ้นสุดการดำเนินงาน (Retrospect) โดยมีเป้าหมายเพื่อให้
               นักสร้างเสริมสุขภาวะสามารถนำไปปรับประยุกต์ใชสร้างความรู้เพื่อการบรหารจัดการงาน/
                                                                  ้
                                                                                         ิ
               กิจกรรม/โครงการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                                                                                    ั
                                                                            ่
                           คู่มือการถอดบทเรียนการทำงาน (Lessons Distilled) โดยประภาพรรณ อุนอบและณภทร ประภาสุชาติ
                                                                                                        4
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14