Page 319 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 319
๓๐๖
สังคมเป็นผู้สนับสนุนให้กระท าผิด ความผิดที่ได้กระท าและโทษที่ได้รับจะต้องเป็นสัดส่วนที่เหมาะสมกัน การที่
ื่
ื่
รัฐเข้ามารับหน้าที่ลงโทษผู้กระท าผิดเพอเป็นการทดแทนก็เพอป้องกันมิให้มีการแก้แค้นกันเอง ท าให้สังคม
็
วุ่นวายเพราะจะมีการแกแค้นกันเองโดยไม่สิ้นสุด ในขณะเดียวกันกเพื่อช่วยเหลือ ผู้ที่อ่อนแอกว่าให้ได้รับความ
้
เป็นธรรม โดยการลงโทษผู้กระท าผิดให้ได้รับผลร้ายที่สาสมและทดแทนกันอย่างยุติธรรม วัตถุประสงค์ในการ
ลงโทษข้อนี้เป็นวัตถุประสงค์ที่สอดคล้องกับความรู้สึกของประชาชนส่วนใหญ่ในทุกสังคม แม้ว่าจะเป็น
วัตถุประสงค์ที่ปัจจุบันเริ่มลดความส าคัญลง เพราะสังคมมีเหตุผลหรือวัตถุประสงค์อื่นในการลงโทษผู้กระท าผิด
มากขึ้น ประกอบกับการลงโทษเพอเป็นการทดแทนมีจุดออนหลายประการ อาทิ เป็นการลงโทษที่ไม่ได้
ื่
่
พจารณาถึงประโยชน์ในอนาคต ไม่ค านึงถึงผลในการป้องกันไม่ให้มีการกระท าความผิดซ้ า ไม่ค านึงถึงความ
ิ
จ าเป็นของสังคม และเป็นการยากที่จะวัดขนาดความรุนแรงของโทษกับความผิดให้ได้สัดส่วนกันอย่างแท้จริง
ท าให้วัตถุประสงค์ในการลงโทษเพื่อทดแทนลดความส าคัญลงในปัจจุบัน
๒. การลงโทษเพอเป็นการข่มขู่ (Deterrence) มีหลักการว่า การลงโทษจะค านึงถึงแต่เพยงผล
ื่
ี
ของการลงโทษต่อตัวผู้กระท าความผิดเท่านั้นไม่ได้ แต่ต้องค านึงถึงผลต่อประชาชนด้วย เพื่อเป็นตัวอย่างให้กับ
คนทั่วไปเห็นว่าเมื่อกระท าผิดแล้วจะต้องได้รับโทษ เพอคนทั่วไปจะได้ทราบจะได้เกรงกลัวไม่กล้ากระท า
ื่
ความผิดขึ้นบ้าง การข่มขู่ดังกล่าวท าให้เกิดความกลัวที่จะถูกลงโทษ จะท าให้หลายคนไม่กล้าลงมือกระท า
ความผิด แล้วยังมีผลท าให้คนทั่วไปคิดว่าการกระท าความผิดเป็นสิ่งที่พงหลีกเลี่ยง การที่จะท าให้การลงโทษ
ึ
มีผลในการข่มขวัญและยับยั้ง การลงโทษนั้นต้องมีความแน่นอนในการน าตัวผู้กระท าผิดมาลงโทษ ต้องกระท า
ได้โดยเร็ว ต้องมีความเสมอภาค และต้องมีบทลงโทษที่เหมาะสมและทัดเทียมกับความผิด
ื่
ื่
๓. การลงโทษเพอเป็นการปรับปรุงแก้ไข (Rehalibitation) การลงโทษเพอเป็นการปรับปรุง
แก้ไขนั้นมีแนวคิดว่า การลงโทษตามทฤษฎีปรับปรุงแก้ไขประสงค์เพยงเพอจะป้องกันไม่ให้บุคคลที่ได้กระท า
ื่
ี
ความผิดมาแล้ว กลับมากระท าความผิดซ้ าอก พยายามหาทางให้ผู้ที่ได้กระท าความผิดมาแล้วเกิดความยับยั้ง
ี
ไม่กระท าผิดซ้ าขึ้นอก ทฤษฎีนี้เกิดขึ้นภายหลังทฤษฎีที่ ๑ และที่ ๒ ที่กล่าวมาแล้ว แนวคิดทฤษฎีนี้เห็นว่าการ
ี
ท าให้ผู้กระท าความผิดได้รับความยากล าบาก หรือได้รับผลร้ายด้วยการลงโทษเพยงอย่างเดียว ไม่น่าจะท าให้
ี
ื่
คนประพฤติตัวดีขึ้น หรือส านึกในการกระท าที่ไม่ดีของตัวเอง ประกอบกับเห็นว่าการลงโทษเพอการข่มขู่ ไม่มี
ี
ผลเป็นการป้องกันไม่ให้ผู้กระท าผิดที่ได้รับโทษแล้วกลับใจไม่กระท าความผิดซ้ าอก ไม่เป็นสิ่งที่ช่วยให้ผู้กระท า
ความผิดมีความสามารถที่จะกลับตัวเป็นคนดีได้เลย
ี
๔. การลงโทษเพอเป็นการตัดโอกาสกระท าความผิดได้อก (Incapacitation) เป็นวัตถุประสงค์หรือ
ื่
แนวคิดที่ท าให้ผู้กระท าความผิดหมดโอกาสกระท าความผิด อาจได้แก่ การจ าคุกผู้กระท าความผิดไว้ตลอดชีวิต
จ าคุกมีก าหนดระยะเวลา การประหารชีวิต เป็นต้น โดยประสงค์จะก าจัดผู้กระท าความผิดให้ออกไปจากสังคม
อย่างถาวรหรือชั่วคราวอันเป็นการป้องกันให้คนในสังคมอยู่อย่างปลอดภัย ไม่ต้องหวาดระแวงภัยจากบุคคลนั้น
อีกต่อไป