Page 324 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 324

๓๑๑



                                       ิ
                                                     ่
                 ตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา ๒๓ จากนั้น จึงมีค าสั่งให้ออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุด
                        (๘)
                 ให้จ าเลย
                                                   ุ
                            ผู้ศึกษามีความเห็นว่า การอทธรณ์หรือฎีกาเป็นสิทธิของคู่ความตามกฎหมายที่สามารถกระท าได้
                 โดยสมัครใจ เว้นแต่อยู่ในบังคับห้ามอทธรณ์ฎีกาตามกฎหมาย  โจทก์และจ าเลยจึงควรมีสิทธิที่จะสละสิทธิ
                                                 ุ
                                                                               ั
                 อทธรณ์ฎีกาได้ เพราะไม่ใช่เรื่องขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนดีของประชาชน  เว้นแต่เป็นคดี
                  ุ
                                                                                                  ุ
                 ที่ศาลชั้นต้นพพากษาประหารชีวิตหรือจ าคุกตลอดชีวิต ซึ่งศาลชั้นต้นต้องส่งส านวนไปยังศาลอทธรณ์ตาม
                             ิ
                                                                                             ู่
                 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๔๕ วรรคสอง  แต่เห็นควรให้ปฏิบัติตามคมือการออกค าสั่ง
                 หรือหมายอาญา ๒๕๕๙ ที่ให้ค าแนะน าว่า กรณีจ าเลยยื่นค าร้องขอให้ศาลชั้นต้นออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถงที่สุด
                                                                                                       ึ
                                      ุ
                                                      ื่
                 โดยแถลงว่าไม่ติดใจที่จะอทธรณ์หรือฎีกา เพอขอรับสิทธิตามพระราชกฤษฎีกาอภัยโทษ และโจทก์แถลงไม่ติด
                        ุ
                 ใจที่จะอทธรณ์หรือฎีกาเช่นเดียวกัน ศาลควรออกหมายจ าคุกถึงที่สุดให้แก่จ าเลยตามที่ร้องขอ โดยมีค าสั่งให้
                                                                          ิ
                 ย่นระยะเวลาอทธรณ์หรือฎีกาให้สิ้นสุดลง ถือว่ากรณีมีพฤติการณ์พเศษ ตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณา
                                                                                                     ิ
                              ุ
                 ความแพ่ง มาตรา ๒๓ จากนั้นจึงออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถงที่สุดให้จ าเลย
                                                                ึ

                                                                                          ิ
                                 ุ
                                                                          ิ
                 ๒. กรณีขอถอนอทธรณ์ในคดีที่จ าเลยต้องโทษจ าคุกตลอดชีวตหรือประหารชีวต
                                                                  ุ
                                   ุ
                            จ าเลยอทธรณ์ฝ่ายเดียว  แม้จ าเลยขอถอนอทธรณ์ ศาลชั้นต้นยังมีหน้าที่ต้องส่งส านวนไปยัง
                                                                  ิ
                                                           ุ
                 ศาลอทธรณ์ ค าพพากษายังไม่ถึงที่สุด เว้นแต่ศาลอทธรณ์พพากษายืนตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความ
                      ุ
                                                                                                 ิ
                               ิ
                                                   ิ
                 อาญา มาตรา ๒๔๕ วรรคสอง ตามค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๑๓๖๕๔/๒๕๕๕ “คดีนี้ศาลชั้นต้นพพากษาลงโทษ
                                                                                                ิ
                 จ าคุกจ าเลยตลอดชีวิต ศาลชั้นต้นจึงมีหน้าที่ต้องส่งส านวนคดีไปให้ศาลอุทธรณ์ภาค ๑ พิจารณาพิพากษาตาม
                                                                                       ุ
                 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๔๕ วรรคสอง การที่จ าเลยถอนอทธรณ์ จึงไม่เป็นผลให้คดี
                                                            ึ
                 ของจ าเลยถึงที่สุด ศาลชั้นต้นออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถงที่สุดโดยระบุว่าคดีถึงที่สุดวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ซึ่ง
                                                                                 ั
                         ่
                                                            ุ
                 เป็นวันที่อานค าสั่งอนุญาตให้ถอนอุทธรณ์ของศาลอทธรณ์ภาค ๑ ให้จ าเลยฟงจึงไม่ชอบ ต่อมาศาลอุทธรณ์
                         ิ
                 ภาค ๑ พพากษายืนลงโทษจ าเลยตามศาลชั้นต้น คดีส าหรับจ าเลยจึงเป็นที่สุดเมื่อวันที่  ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๐ ซึ่ง
                                                                                                 ิ
                                                                           ั
                 เป็นวันที่ศาลชั้นต้นได้อานค าพพากษาศาลอทธรณ์ภาค ๑ ให้จ าเลยฟงตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความ
                                           ิ
                                                      ุ
                                     ่
                 อาญา มาตรา ๒๔๕ วรรคสอง ที่ศาลชั้นต้นออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดใหม่โดยระบุว่า คดีถึงที่สุดวันที่ ๙
                 พฤษภาคม ๒๕๕๐ จึงชอบแล้ว ส่วนจ าเลยจะได้รับประโยชน์จากพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ
                 หรือไม่ ย่อมเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ ศาลฎีกาไม่อาจแก้ไข
                 หมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดซึ่งออกโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว” และค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๒๓๓๘/๒๕๓๖
                                                                              ิ
                                                                                                      ุ
                             ิ
                 “ศาลชั้นต้นพพากษาลงโทษประหารชีวิตจ าเลย จ าเลยอทธรณ์ ระหว่างการพจารณาของศาลอทธรณ์
                                                                                      ิ
                                                                   ุ

                        (๘)  ส านักประธานศาลฎีกา ส านักงานศาลยุติธรรม, (๒๕๔๙), คู่มือการออกค าสั่งหรือหมายอาญา, หน้า ๙๘.
   319   320   321   322   323   324   325   326   327   328   329