Page 327 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 327

๓๑๔



                            เมื่อพจารณาประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา ๑๔๗ วรรคสอง  ที่บัญญัติว่า
                                                                         ่
                                 ิ
                                                           ิ
                                                                                              ุ
                                              ุ
                      ิ
                                                                     ิ
                 “ค าพพากษาหรือค าสั่งใด ซึ่งอาจอทธรณ์ฎีกา หรือมีค าขอให้พจารณาคดีใหม่ได้นั้น ถ้ามิได้อทธรณ์ ฎีกาหรือ
                 ร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ภายในเวลาที่ก าหนดไว้ ให้ถือว่าเป็นที่สุดตั้งแต่ระยะเวลาเช่นว่านั้นได้สิ้นสุดลง ถ้าได้
                 มีอุทธรณ์ฎีกา หรือมีค าขอให้พิจารณาคดีใหม่ และศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาหรือศาลชั้นต้นซึ่งพิจารณาคดีเรื่อง
                 นั้นใหม่ มีค าสั่งให้จ าหน่ายคดีเสียจากสารบบความตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๓๒ ค าพิพากษาหรือค าสั่งเช่นว่า
                 นั้นให้ถือว่าเป็นที่สุดตั้งแต่วันที่มีค าสั่งให้จ าหน่ายคดีเสียจากสารบบความ” ตามบทบัญญัติของกฎหมาย

                 ดังกล่าวให้ค าสั่งจ าหน่ายคดีเป็นที่สุดในวันที่มีค าสั่งให้จ าหน่ายคดีเสียจากสารบบความ ไม่ได้บัญญัติให้เป็น
                 ที่สุดตั้งแต่วันที่จ าเลยยื่นค าร้อง การที่ศาลฎีกามีค าสั่งให้คดีถึงที่สุดในวันที่จ าเลยยื่นค าร้อง จึงเป็นกรณีที่

                 ศาลฎีกาให้ความอนุเคราะห์แก่จ าเลย เพื่อให้จ าเลยได้รับประโยชน์ตามพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ
                         ิ
                                                   ิ
                 และเมื่อพจารณาประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา ๑๔๐ วรรคท้าย ที่บัญญัติว่า “เมื่อศาลที่
                                                                ่
                  ิ
                                                               ิ
                 พพากษาคดี หรือที่ได้รับค าสั่งจากศาลสูงให้อานค าพพากษาหรือค าสั่ง ได้อานค าพพากษาหรือค าสั่งตาม
                                                        ่
                                                                                  ่
                                                                                        ิ
                 บทบัญญัติในมาตรานี้วันใด ให้ถือว่าวันนั้นเป็นวันที่พพากษาหรือมีค าสั่งนั้น”  ผู้ศึกษาจึงมีความเห็นตาม
                                                               ิ
                 ค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๒๑๗๔/๒๕๑๔ ว่าควรออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในวันที่ศาลชั้นต้นอานค าสั่งของ
                                                                                                 ่
                     ิ
                 ศาลฎีกา แม้คดีดังกล่าวเป็นเรื่องจ าเลยขอถอนอุทธรณ์ผลคดีก็ไม่ควรแตกต่างกัน แต่เพื่อเป็นการอนุเคราะห์ให้
                 จ าเลยได้รับประโยชน์จากพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ ควรเสนอให้มีการแก้ไขกฎหมายให้คดีถึง
                                                                          ิ
                 ที่สุดในวันที่จ าเลยยื่นค าร้องขอถอนอุทธรณ์หรือถอนฎีกาตามแนวค าพพากษาศาลฎีกาส่วนใหญ่ต่อไป

                 ๕. กรณีศาลชั้นต้นไม่รับฎีกา เพราะยื่นฎีกาเมื่อพ้นก าหนด


                                                                                                   ิ
                                                                               ุ
                                   ุ
                            จ าเลยอทธรณ์ค าสั่งไม่รับฎีกา และต่อมายื่นค าร้องขอถอนอทธรณ์ค าสั่ง ศาลฎีกาพพากษาให้
                 ออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดเมื่อระยะเวลาฎีกาสิ้นสุดตามค าพพากษาที่ ๑๐๙๘๔/๒๕๕๑ “คดีนี้ศาลชั้นต้น
                                                                      ิ
                 พพากษาว่า จ าเลยมีความผิดฐานมีเมทแอมเฟตามีนไว้ในครอบครองเพอจ าหน่าย และฐานจ าหน่าย
                  ิ
                                                                                  ื่
                                                                      ุ
                                                                                   ิ
                 เมทแอมเฟตามีน จ าคุกกระทงละ ๔ ปี รวมจ าคุก ๘ ปี ศาลอทธรณ์ภาค ๑ พพากษายืน โดยลงโทษจ าคุก
                                                                                                     ิ
                 กระทงละไม่เกินห้าปี คดีจึงต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณา
                 ความอาญา มาตรา ๒๑๘ วรรคหนึ่ง เมื่อจ าเลยยื่นฎีกาพนก าหนดระยะเวลาฎีกาแล้ว ศาลชั้นต้นมีค าสั่งไม่รับ
                                                                ้
                                                          ุ
                                                                                                      ุ
                 ฎีกาของจ าเลย แม้ต่อมาจ าเลยจะยื่นค าร้องและอทธรณ์ค าสั่งเกี่ยวเนื่องกับค าสั่งไม่รับฎีกา และศาลอทธรณ์
                                                                                         ุ
                                       ุ
                                                              ิ
                 ภาค ๑ มีค าสั่งรับค าร้องอทธรณ์ค าสั่งของจ าเลยไว้พจารณาก็ตาม แต่ในที่สุดศาลอทธรณ์ภาค ๑ มีค าสั่ง
                 อนุญาตให้จ าเลยถอนอุทธรณ์ค าสั่งได้ จึงไม่มีการรับฎีกาของจ าเลย ต้องถือว่าคดีถึงที่สุดเมื่อระยะเวลายื่นฎีกา
                                                 ิ
                                                              ่
                 ได้สิ้นสุดลงตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา ๑๔๗ วรรคสอง ประกอบประมวลกฎหมาย
                                                                                                       ั
                                                                 ่
                     ิ
                 วิธีพจารณาความอาญา มาตรา ๑๕ คดีนี้ศาลจังหวัดสีคิ้วอานค าพพากษาศาลอทธรณ์ภาค ๑ ให้จ าเลยฟงเมื่อ
                                                                                  ุ
                                                                       ิ
                 วันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๔๘ ครบก าหนดยื่นฎีกาวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ซึ่งตรงกับวันอาทิตย์ระยะเวลายื่นฎีกา
   322   323   324   325   326   327   328   329   330   331   332