Page 332 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 332
๓๑๙
ิ
ิ่
หรือลดโทษให้จ าเลย ไม่อาจพพากษาเพมเติมโทษจ าเลยได้ เพราะเป็นการต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๒๑๒ จึงมีความเห็นว่า แม้ศาลชั้นต้นต้องออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดฉบับใหม่
ิ
แก้ไขโทษจ าคุกตามค าพพากษาของศาลสูง ก็ไม่ควรแก้ไขวันที่คดีถึงที่สุดที่ระบุในหมายจ าคุก
เมื่อคดีถึงที่สุด เพื่อไม่ให้กระทบสิทธิที่จ าเลยได้รับตามหมายจ าคุกเมอคดีถงที่สุดฉบับเดิม
ื่
ึ
ปัญหานี้เคยเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการเพอพจารณาวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาการปฏิบัติตาม
ื่
ิ
พระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๔๗ และ พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีเป็น
ประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
และเลขาธิการส านักงานศาลยุติธรรม เป็นกรรมการตามรายงานการประชุมวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ กรณี
จ าเลยที่ ๑ นักโทษเด็ดขาดในความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ ศาลชั้นต้นพพากษาลงโทษจ าคุก ๖ ปี
ิ
๑๒ เดือน คดีถึงที่สุดแล้ว คณะกรรมการได้ตรวจสอบและส่งรายชื่อจ าเลยที่ ๑ ได้รับพระราชทานอภัยโทษตามพระ
ราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๔๗ ต่อศาลแห่งท้องที่แต่เนื่องจากจ าเลยที่ ๒ ยื่นอทธรณ์
ุ
ิ
ุ
ศาลอทธรณ์พพากษาไปถึงจ าเลยที่ ๑ เนื่องจากเป็นเหตุในลักษณะคดี โดยให้ลงโทษจ าเลยที่ ๑ บางข้อหา
น้อยกว่าที่ศาลชั้นต้นพพากษาเป็นจ าคุก ๔ ปี ๒๐ เดือน ซึ่งศาลได้ออกหมายจ าคุกฉบับใหม่ยกเลิกหมายจ าคุก
ิ
ฉบับเดิม จ าเลยที่ ๑ จะยังคงได้รับประโยชน์จากหมายจ าคุกฉบับเดิมที่ได้รับพระราชทานอภัยโทษหรือไม่
คณะกรรมการเพอพจารณาวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาการปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษมีมติว่า
ิ
ื่
ิ
การพจารณาพระราชทานอภัยโทษให้แก่นักโทษเด็ดขาดที่คดีถึงที่สุดก่อนหรือในวันที่พระราชกฤษฎีกาพระราชทาน
อภัยโทษใช้บังคับ และต่อมาศาลได้ออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดฉบับใหม่ ยกเลิกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุด
ฉบับเดิม และเปลี่ยนวันที่คดีถึงที่สุดเป็นภายหลังวันที่พระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษใช้บังคับ ผลของ
หมายจ าคุกฉบับหลังจะมีผลต่อนักโทษเด็ดขาดก็เฉพาะการเปลี่ยนแปลงโทษตามค าพพากษาเท่านั้น สิทธิของ
ิ
นักโทษเด็ดขาดที่เคยได้รับพระราชทานอภัยโทษตามหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดฉบับเดิมอย่างไร แม้ต่อมา
ศาลจะออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดฉบับใหม่ยกเลิกหมายจ าคุกฉบับเดิม ก็ไม่ท าให้สิทธิของนักโทษเด็ดขาด
(๙)
ดังกล่าวต้องเสียไปตามหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดฉบับใหม่ด้วย
ในการนี้ส านักงานศาลยุติธรรมมีหนังสือที่ ศย ๐๑๖/ว ๗๘ (ป) ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๐
ส่งรายงานการประชุมของคณะกรรมการดังกล่าวมายังหัวหน้าหน่วยงานในสังกัดส านักงานศาลยุติธรรม เพื่อให้
ผู้พพากษาศาลแห่งท้องที่ซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการท าหน้าที่ตรวจสอบผู้ซึ่งจะได้รับพระราชทาน
ิ
อภัยโทษใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ
(๙) รายงานการประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาการปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาพระราชทาน
อภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๔๗ และพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๔๙, ประเด็นปัญหาที่ ๕, ดูภาคผนวก.