Page 331 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 331
๓๑๘
ิ
ิ
ั
ผู้ศึกษามีความเห็นตามค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๙๑๗/๒๕๖๔ โดยเมื่อโจทก์ที่ฟงค าพพากษาใน
ภายหลังไม่อทธรณ์หรือฎีกาค าพพากษา ก็ควรออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาอทธรณ์หรือ
ิ
ุ
ุ
ฎีกาของจ าเลย เพอให้จ าเลยได้รับสถานะเป็นนักโทษเด็ดขาดเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยเร็ว
ื่
่
ิ
ทั้งการที่ศาลชั้นต้นอานค าพพากษาให้คู่ความฟงไม่พร้อมกัน ไม่ได้เกิดจากการกระท าของจ าเลย จึงไม่ควร
ั
ตีความให้เป็นผลร้ายแก่จ าเลย ปัจจุบันประธานศาลฎีกาได้ออกระเบียบราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม
ิ
ว่าด้วยการอานค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลสูงในลักษณะการประชุมทางจอภาพ พ.ศ. ๒๕๖๒ ปัญหาการ
่
ั
อ่านค าพิพากษาให้คู่ความฟงไม่พร้อมกันจึงน่าจะหมดไป
๘. กรณีเพิกถอนหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุด เพราะเหตุลักษณะคดี
ิ
่
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าค าพพากษาในส่วนของจ าเลยที่ไม่ฎีกายังไม่ถึงที่สุด คดีถึงที่สุดเมื่ออานฎีกาให้
๒
ิ
ั
จ าเลยที่ไม่ฎีกาฟง ตามค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๑ ๙ ๓ ๔ / ๕ ๕ ๒ โดยคดีดังกล่าวมีข้อเท็จจริงว่า
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจ าเลยทั้งสี่ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ จ าคุกจ าเลยทั้งสี่ตลอด
ชีวิต จ าเลยทั้งสี่อุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาค ๙ พิพากษาแก้เป็นว่าให้จ าคุกจ าเลยทั้งสี่กระทงละ ๒๕ ปี รวมจ าคุก
คนละ ๕๐ ปี จ าเลยที่ ๒ ที่ ๓ และที่ ๔ ฎีกา ส่วนจ าเลยที่ ๑ ไม่ฎีกา ศาลชั้นต้นออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุด
ให้จ าเลยที่ ๑ โดยระบุในหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดว่าคดีถึงที่สุดวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๖ ต่อมาศาลฎีกา
พพากษาลงโทษจ าเลยที่ ๒ น้อยกว่าอตราโทษขั้นต่ าที่ก าหนดไว้ส าหรับความผิดนั้น และเป็นเหตุอยู่ในส่วน
ิ
ั
ลักษณะคดีโดยพพากษาตลอดไปถึงจ าเลยที่ ๑ ที่มิได้ฎีกาด้วยตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา
ิ
ิ
มาตรา ๒๑๓ ประกอบด้วยมาตรา ๒๒๕ ให้ลงโทษจ าคุกจ าเลยที่ ๑ กระทงละ ๑๕ ปี รวมจ าคุก ๓๐ ปี
ศาลชั้นต้นอานค าพพากษาศาลฎีกาให้จ าเลยที่ ๑ ฟงเมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๗ และออกหมายจ าคุกเมื่อ
ั
่
ิ
คดีถึงที่สุดฉบับลงวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๗ โดยระบุในหมายจ าคุกจ าเลยที่ ๑ ว่าคดีถึงที่สุดวันที่ ๒๒ ธันวาคม
๒๕๔๗ จ าเลยที่ ๑ ยื่นอทธรณ์และฎีกาเกี่ยวกับการแก้ไขหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดตามล าดับ ศาลฎีกา
ุ
ิ
พิพากษาว่า “ศาลชั้นต้นอ่านค าพพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๙ ให้จ าเลยที่ ๑ ฟังเมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๖ แม้
ิ
จ าเลยที่ ๑ ไม่ฎีกา เมื่อศาลฎีกาเห็นว่ามีเหตุอยู่ในส่วนลักษณะคดีและพพากษาตลอดไปถึงจ าเลยที่ ๑ ที่มิได้
ฎีกาด้วย ตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา มาตรา ๒๑๓ ประกอบมาตรา ๒๒๕ แล้ว คดีในส่วน
ิ
ของจ าเลยที่ ๑ จึงเป็นที่สุดเมื่อศาลชั้นต้นอ่านค าพิพากษาฎีกาให้จ าเลยที่ ๑ ฟัง”
มีข้อสังเกตว่า ขณะศาลชั้นต้นออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดโดยระบุว่า คดีถึงที่สุดเมื่อวันที่
๘ กันยายน ๒๕๔๖ จ าเลยที่ ๑ จะได้รับประโยชน์จากพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๔๗
ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๗
ิ
ผู้ศึกษาเห็นว่า แม้ศาลอทธรณ์หรือศาลฎีกามีอานาจพพากษาคดีให้มีผลไปถึงจ าเลยที่
ุ
ุ
ไม่อทธรณ์หรือฎีกาในเหตุลักษณะคดี แต่ค าพพากษาต้องเป็นคุณแก่จ าเลย เช่น พพากษาแก้เป็นไม่ลงโทษ
ิ
ิ