Page 333 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 333

๓๒๐



                 ๙. กรณีจ าเลยแต่บางคนอุทธรณ์

                                                 ุ
                            กรณีจ าเลยแต่บางคนอทธรณ์ ศาลออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดแก่จ าเลยที่ไม่อทธรณ์
                                                                                                     ุ
                                                                       ิ
                            ิ
                 ได้ ตามค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๘๓๑๔/๒๕๔๔ “ศาลชั้นต้นพพากษาลงโทษจ าคุกจ าเลยทั้งสอง จ าเลย
                                              ุ
                       ุ
                                                                                  ิ
                 ที่ ๑ อทธรณ์ ส่วนจ าเลยที่ ๒ ไม่อทธรณ์เพราะพอใจในโทษของตนตามค าพพากษาศาลชั้นต้น คดีเฉพาะ
                 ตัวของจ าเลยที่ ๒ ย่อมถึงที่สุด” และค าสั่งค าร้องศาลฎีกาที่ ๕๖๙/๒๕๓๐, ๒๘๗/๒๕๒๕, ๕๙/๒๕๑๔,
                 ๘๖/๒๕๐๐ วินิจฉัยท านองเดียวกัน

                            ปัญหานี้คู่มือการออกค าสั่งหรือหมายอาญาให้ค าแนะน าว่า น่าจะอนุโลมออกหมายจ าคุกคดี
                                                                                                   (๑๐)
                                          ุ
                 ถึงที่สุดให้แก่จ าเลยบางคนที่ไม่อทธรณ์หรือฎีกา ตามนัยค าสั่งค าร้องศาลฎีกาที่ ๕๙/๒๕๑๔, ๘๖/๒๕๐๐
                                                   ิ

                            ผู้ศึกษามีความเห็นตามคาพพากษาศาลฎีกาที่ ๘๓๑๔/๒๕๔๔  ให้ศาลชั้นต้นออกหมายจ าคุกเมื่อ
                                       ุ
                 คดีถึงที่สุดแก่จ าเลยที่ไม่อทธรณ์ไปก่อนได้  ไม่จ าต้องรอให้คดีถึงที่สุดทั้งคดี เนื่องจากคดีส าหรับจ าเลยที่ไม่
                                                                             ่
                                                                                           ่
                                                                                                 ิ
                                                ุ
                  ุ
                 อทธรณ์ ต้องถือว่าไม่มีคู่ความฝ่ายใดอทธรณ์ภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันอานหรือถือว่าได้อานค าพพากษาหรือ
                 ค าสั่งให้คู่ความฟัง คดีจึงเป็นที่สุดตั้งแต่ระยะเวลาเช่นว่านั้นได้สิ้นสุดลงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
                 แพ่ง มาตรา ๑๔๗ วรรคสอง

                 ๑๐. กรณีวันครบก าหนดอุทธรณ์ฎีกาตรงกับวันหยุดราชการ


                                              ุ
                            กรณีวันครบก าหนดอธรณ์หรือฎีกาตรงกับวันหยุดราชการ ต้องนับวันเริ่มท างานใหม่เป็นวันสุดท้าย
                                                           ่
                                                                                              ิ
                 ของก าหนดอทธรณ์ฎีกาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๘  ตามค าพพากษาศาลฎีกา
                            ุ
                                                         ิ
                 ที่ ๑๐๙๘๔/๒๕๕๑ “คดีนี้ศาลจังหวัดสีคิ้วอ่านค าพพากษา ศาลอุทธรณ์ภาค ๑ ให้จ าเลยฟังเมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน
                 ๒๕๔๘ ครบก าหนดยื่นฎีกาวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ซึ่งตรงกับวันอาทิตย์ ระยะเวลายื่นฎีกาจึงสิ้นสุดลงวันที่
                 ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๘ อันเป็นวันที่เริ่มท าการใหม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๘ คดีจึง

                 ถึงที่สุดวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๘” และมีค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๙๑๗/๒๕๖๔, ๑๘๘๔/๒๕๕๕, ๗๑๕/๒๕๐๓
                                                       ิ
                 วินิจฉัยท านองเดียวกัน


                                                   ิ
                            ผู้ศึกษามีความเห็นตามค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๑๐๙๘๔/๒๕๕๑ ซึ่งสอดคล้องกับประมวลกฎหมาย
                    ่
                 แพงและพาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๘ ที่บัญญัติว่า ถ้าวันสุดท้ายของระยะเวลาเป็นวันหยุดท าการตามประกาศ
                 เป็นทางการหรือตามประเพณี ให้นับวันที่เริ่มท าการใหม่ต่อจากวันที่หยุดท าการนั้นเป็นวันสุดท้ายของ
                 ระยะเวลา แต่มีข้อสังเกตว่า พระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษมักประกาศให้มีผลบังคับใช้ในวันส าคัญ






                        (๑๐)  ส านักประธานศาลฎีกา ส านักงานศาลยุติธรรม, (๒๕๔๙), คู่มือการออกค าสั่งหรือหมายอาญา, หน้า ๙๘.
   328   329   330   331   332   333   334   335   336   337   338