Page 329 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 329

๓๑๖



                 ค าว่า “ระยะเวลาเช่นว่านั้นได้สิ้นสุดลง” หมายถึงระยะเวลาสิ้นสุดที่ก าหนดโดยกฎหมาย คือ เมื่อครบก าหนด

                                                      ิ
                                  ่
                                                                                                     ิ
                                                                              ั
                 หนึ่งเดือนนับแต่วันอานหรือถือว่าได้อานค าพพากษาหรือค าสั่งให้คู่ความฟง ตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณา
                                                ่
                 ความอาญา มาตรา ๑๙๘ และมาตรา ๒๑๖ ในกรณีที่คู่ความยื่นค าร้องขอขยายระยะเวลาอทธรณ์ฎีกา และ
                                                                                              ุ
                 คู่ความมิได้ใช้สิทธิอุทธรณ์ฎีกาตามที่ได้ขอขยายระยะเวลาไว้ ในการออกหมายจ าคุกคดีถึงที่สุดย่อมต้องกลับไป
                                                               ่
                 ใช้ระยะเวลาตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา ๑๔๗ วรรคสอง ประกอบประมวลกฎหมาย
                                                  ิ
                 วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๕ ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ก าหนดโดยกฎหมาย เพื่อมิให้จ าเลยผู้ต้องถูกบังคับโทษ
                                         ึ
                 ทางอาญาต้องเสียสิทธิที่จะพงได้รับตามกฎหมายราชทัณฑ์ ข้อเท็จจริงได้ความว่า โจทก์ได้รับอนุญาตให้ขยาย
                 ระยะเวลาฎีกาถึงวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ต่อมาโจทก์ไม่ใช้สิทธิฎีกาภายในเวลาที่ขยายไว้ การที่ศาลชั้นต้น

                 ออกหมายจ าคุกคดีถึงที่สุดให้แกจ าเลยที่ ๒ ในวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เป็นการน าระยะเวลาที่โจทก์ได้รับ
                                           ่
                                                                                                    ิ
                 อนุญาตให้ขยายฎีการวมเข้าด้วย จึงไม่ชอบ ข้อเท็จจริงฟงยุติว่าศาลอาญาได้อานค าพพากษา
                                                                                             ่
                                                                        ั
                 ศาลอทธรณ์ภาค ๑ แทนศาลชั้นต้นให้จ าเลยที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๔ ถึงที่ ๖ ฟงเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ และ
                      ุ
                                                                            ั
                                 ิ
                 ศาลชั้นต้นอ่านค าพพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ ให้โจทก์ฟังเมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ศาลชั้นต้นอนุญาต
                 ให้โจทก์ขยายระยะเวลาฎีกาถึงวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘ แต่โจทก์มิได้ฎีกา จากบทบัญญัติของกฎหมายที่ได้
                 กล่าวมาแล้ว จ าเลยที่ ๒ ย่อมสามารถใช้สิทธิฎีกาได้ถึงวันที่๑ มิถุนายน ๒๕๕๘ แต่วันดังกล่าวเป็นวันวิสาขบูชา

                 ซึ่งเป็นวันหยุดราชการ ระยะเวลาฎีกาของจ าเลยที่ ๒ จึงสิ้นสุดลงวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๘ อนเป็นวันเริ่มท า
                                                                                               ั
                 การใหม่ ศาลชั้นต้นต้องออกหมายจ าคุกคดีถึงที่สุดให้จ าเลยที่ ๒ นับแต่วันดังกล่าว และที่ศาลชั้นต้นออกหมาย

                 จ าคุกคดีถึงที่สุดให้แก่จ าเลยที่ ๑ ที่ ๔ และที่ ๕ โดยระบุให้คดีถึงที่สุดวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ซึ่งเป็นวัน
                 เดียวกับที่ระบุในการออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดให้แก่จ าเลยที่ ๒ การออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดให้แก่

                 จ าเลยที่ ๔ และที่ ๕ จึงไม่ถูกต้องเช่นกัน ส่วนจ าเลยที่ ๑ แม้จะได้ความว่าได้รับอนุญาตให้ขยายระยะเวลาฎีกา
                 แต่เมื่อจ าเลยที่ ๑ มิได้ฎีกา การออกหมายจ าคุกคดีถึงที่สุดให้แก่จ าเลยที่ ๑ ย่อมถึงที่สุดในวันที่ ๒ มิถุนายน

                 ๒๕๕๘  ศาลฎีกาเห็นสมควรแก้ไขหมายจ าคุกคดีถึงที่สุดของจ าเลยที่ ๑ ที่ ๔ ที่ ๕ ให้ถูกต้องด้วย พิพากษากลับ

                 ให้แก้ไขหมายจ าคุกคดีถึงที่สุดของจ าเลยที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๔ และที่ ๕ โดยระบุให้ถึงที่สุดนับแต่วันที่ ๒ มิถุนายน
                 ๒๕๕๘”

                            ผู้ศึกษามีความเห็นตามค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๙๑๗/๒๕๖๔ เฉพาะกรณีโจทก์ขอขยายระยะเวลา
                                                   ิ
                                                                                                  ุ
                 อทธรณ์หรือฎีกา แล้วไม่ยื่นอทธรณ์หรือฎีกาภายในก าหนด  แต่ในกรณีจ าเลยขอขยายระยะเวลาอทธรณ์หรือ
                                         ุ
                  ุ
                 ฎีกา แล้วไม่ยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาภายในก าหนด  ผู้ศึกษามีความเห็นว่า การขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์หรือฎีกา
                 เป็นสิทธิของจ าเลยที่กระท าโดยสมัครใจ เมื่อจ าเลยเลือกใช้สิทธิขอขยายระยะเวลาย่อมได้รับประโยชน์มีสิทธิ
                 อุทธรณ์ฎีกาภายในระยะเวลาที่ขยาย จึงควรต้องรับผลของการขอขยายระยะเวลาที่จะท าให้คดีของจ าเลยยังไม่

                 ถึงที่สุด การวินิจฉัยให้คดีของจ าเลยถึงที่สุดย้อนกลับไปเมื่อครบก าหนดหนึ่งเดือนนับแต่วันอาน หรือถือว่าได้
                                                                                              ่
                 อ่านค าพิพากษาหรือค าสั่งให้จ าเลยฟัง อาจท าให้จ าเลยในคดีที่ศาลพิพากษาลงโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี ซึ่งหากมี
   324   325   326   327   328   329   330   331   332   333   334