Page 325 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 325
๓๑๒
ิ
ิ
ุ
จ าเลยยื่นค าร้องขอถอนอทธรณ์ การที่ศาลอทธรณ์อนุญาตแล้วพจารณาพพากษาคดีต่อไปตามประมวล
ุ
ิ
ุ
ิ
กฎหมายวิธีพจารณาความอาญา มาตรา ๒๔๕ จึงชอบแล้ว เมื่อศาลอทธรณ์พพากษายืน คดีย่อมถึง
ที่สุด จ าเลยจะฎีกาคัดค้านค าพิพากษาดังกล่าวไม่ได้”
ิ
ผู้ศึกษาเห็นตามค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๑๓๖๕๔/๒๕๕๕ ซึ่งสอดคล้องกับบทบัญญัติตามประมวล
ุ
กฎหมายวิธีพจารณาความอาญา มาตรา ๒๔๕ วรรคสอง แม้จ าเลยขอถอนอทธรณ์ ศาลชั้นต้น ยังมีหน้าที่ต้อง
ิ
ิ
ุ
ุ
ส่งส านวนไปยังศาลอทธรณ์ เมื่อศาลอทธรณ์พพากษายืน คดีย่อมถึงที่สุด จ าเลยไม่อาจฎีกาทั้งในปัญหา
่
ุ
ิ
ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย จึงควรออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในวันที่อานค าพพากษาศาลอทธรณ์
เช่นเดียวกับวิธีปฏิบัติในคดียาเสพติดให้โทษ โดยไม่จ าต้องรอให้พ้นระยะเวลายื่นฎีกาเสียก่อน
ุ
๓. กรณีขอถอนอทธรณ์ในคดีที่จ าเลยต้องโทษไมถึงจ าคุกตลอดชีวิตหรือประหารชีวิต
่
จ าเลยอุทธรณ์ฝ่ายเดียว คดีย่อมถึงที่สุดในวันที่ศาลชั้นต้นอ่านค าสั่งศาลอุทธรณ์ที่อนุญาต ให้ถอน
ิ
ิ
ุ
อทธรณ์ ตามค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๒๑๗๔/๒๕๑๔ คดีดังกล่าวศาลชั้นต้นพพากษาจ าคุกจ าเลยมี
ิ
ก าหนด ๒ ปี จ าเลยอทธรณ์ ศาลอทธรณ์ท าค าพพากษาส่งมาให้ศาลชั้นต้นอาน ก่อนอานค าพพากษา
ุ
่
ิ
ุ
่
ุ
ศาลอทธรณ์ จ าเลยยื่นค าร้องขอถอนอทธรณ์เมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๑๔ เพอประโยชน์ในการที่จะได้รับ
ื่
ุ
่
พระราชทานอภัยโทษตามพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๑๔ ศาลชั้นต้นงดการอานและส่ง
ส านวนคืนศาลอทธรณ์เพอสั่งค าร้อง ต่อมาศาลชั้นต้นอานค าสั่งศาลอทธรณ์ที่อนุญาตให้ถอนอทธรณ์ให้จ าเลย
ุ
่
ุ
ุ
ื่
๒
ฟงเมื่อวันที่ ๗ มิถุนายน ๕ ๑ ๔ และออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในวันเดียวกัน ต่อมา
๑
ั
วันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๑๔ จ าเลยยื่นค าร้องต่อศาลชั้นต้นว่า จ าเลยไม่ได้รับพระราชทานอภัยโทษ เพราะทาง
เรือนจ าถือว่าคดีของจ าเลยเด็ดขาดลงภายหลังจากวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๑๔ อนเป็นวันที่พระราชกฤษฎีกา
ั
ื่
พระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๑๔ มีผลบังคับใช้ ขอให้ศาลมีค าสั่งหรือออกหมายไปยังเรือนจ าใหม่ เพอให้
จ าเลยได้รับประโยชน์ตามพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ ศาลชั้นต้นมีค าสั่งว่า คดีของจ าเลยถึงที่สุดใน
ิ
ุ
่
ุ
ิ
วันที่ศาลชั้นต้นอานค าสั่งของศาลอทธรณ์ ศาลอทธรณ์พพากษายืน จ าเลยฎีกา ศาลฎีกาพพากษาว่า
“ค าว่า "นักโทษเด็ดขาด" ซึ่งสมควรจะได้รับพระราชทานอภัยโทษตามพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัย
โทษ พ.ศ. ๒๕๑๔ นั้น ท่านบัญญัติไว้ในมาตรา ๓ แห่งพระราชกฤษฎีกาฉบับนั้นว่า ให้หมายความถึงนักโทษ
ุ
เด็ดขาดตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พทธศักราช ๒๔๗๙ ซึ่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ฉบับนี้บัญญัติไว้ใน
ิ
มาตรา ๔ ว่า นักโทษเด็ดขาด หมายความว่า บุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายจ าคุกภายหลังค าพพากษาถึงที่สุด
ดังนี้ จะเห็นได้ว่านักโทษเด็ดขาดที่สมควรจะได้รับพระราชทานอภัยโทษตามพระราชกฤษฎีกาพระราชทาน
อภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๑๔ นั้น หมายความถึงนักโทษที่ศาลออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดไว้ก่อนและในวันที่
พระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๑๔ มีผลใช้บังคับเท่านั้น ไม่เกี่ยวกับนักโทษที่ยังไม่มี