Page 323 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 323
๓๑๐
๑. กรณีสละสิทธิอุทธรณ์ฎีกา
จ าเลยยื่นค าร้องไม่ประสงค์ต่อสู้คดีในชั้นฎีกา หรือแถลงไม่ติดใจที่จะฎีกา ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าคดี
ถึงที่สุดเมื่อครบก าหนดฎีกา ตามค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๑๘๘๔/๒๕๕๕ “ จ าเลยที่ ๒ ยื่นค าร้องว่า จ าเลยที่ ๒
ิ
ไม่ประสงค์ต่อสู้คดีในชั้นศาลฎีกาและขอให้ออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดให้จ าเลยที่ ๒ ด้วย ครบก าหนดฎีกา
วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ เป็นวันอาทิตย์หยุดราชการ คดีของจ าเลยที่ ๒ จึงถึงที่สุดในวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๔๙
่
ซึ่งเป็นวันที่ระยะเวลาฎีกาได้สิ้นสุดลงตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา ๑๔๗ วรรคสอง
ิ
ิ
ิ
ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา มาตรา ๑๕” ค าพพากษาฎีกาที่ ๕๑๗/๒๕๓๖ “สิทธิ
ในการฎีกาย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย แม้โจทก์และจ าเลยจะขอสละสิทธิในการฎีกา ก็หาได้
มีผลเป็นการตัดสิทธิโจทก์และจ าเลยไม่ให้ฎีกาโดยเด็ดขาดไม่ โจทก์และจ าเลยยังคงมีสิทธิที่จะฎีกาได้ภายใน
เวลาที่ก าหนดไว้ตามกฎหมาย คดีจึงยังไม่ถึงที่สุดในวันที่อานค าพพากษาศาลอุทธรณ์ ที่จ าเลยขอให้ศาลออก
่
ิ
หมายจ าคุกคดีถึงที่สุดย้อนหลังไปในวันดังกล่าวจึงไม่อาจกระท าได้” ค าพพากษาฎีกาที่ ๒๖๒/๒๕๑๕ “คดีที่
ิ
ต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญ มาตรา ๒๑๘ นั้นมิได้
ห้ามคู่ความฎีกาในปัญหาข้อกฎหมาย แม้คู่ความจะมิได้อทธรณ์ในปัญหาข้อกฎหมายมาก่อนก็ยังอาจมีข้อ
ุ
กฎหมายที่จะฎีกาได้ภายในก าหนดฎีกา การที่จ าเลยแสดงเจตนาสละสิทธิที่จะฎีกาต่อไป ก็จะถือว่าคดีของ
ิ
ุ
ิ
จ าเลยถึงที่สุดเด็ดขาดย้อนหลังไปนับแต่วันอานค าพพากษาศาลอทธรณ์หาได้ไม่” และมีค าพพากษาศาลฎีกาท ี่
่
๘๘๗๒/๒๕๕๓ ค าสั่ง ค าร้องศาลฎีกาที่ ๑๘๖๒/๒๕๓๕, ๑๔๒๗/๒๕๓๐ วินิจฉัยท านองเดียวกัน โดยศาลฎีกา
มีค าสั่งให้ศาลชั้นต้นออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดเมื่อพ้นก าหนดฎีกา
ปัญหานี้ตามคู่มือการออกค าสั่งหรือหมายอาญาให้ค าแนะน าว่า กรณีจ าเลยยื่นค าร้องขอให้
ุ
ื่
ศาลชั้นต้นออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุด โดยแถลงว่าไม่ติดใจที่จะอทธรณ์หรือฎีกาแต่อย่างใด เพอจะขอรับ
ุ
สิทธิตามพระราชกฤษฎีกาอภัยโทษ และโจทก์ก็แถลงว่าไม่ติดใจที่จะอทธรณ์หรือฎีกาเช่นเดียวกัน กรณีเช่นนี้
ศาลควรจะอนุเคราะห์ออกหมายจ าคุกถึงที่สุดให้แก่จ าเลยตามที่ร้องขอ แต่เนื่องจากมีค าพพากษาศาลฎีกา
ิ
ที่ ๕๑๗/๒๕๓๖ วินิจฉัยไว้ว่า “สิทธิในการฎีกาย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย แม้โจทก์และ
จ าเลยจะขอสละสิทธิในการฎีกา ก็หาได้มีผลเป็นการตัดสิทธิโจทก์และจ าเลยไม่ให้ฎีกาโดยเด็ดขาดไม่ โจทก์
และจ าเลยยังคงมีสิทธิที่จะฎีกาได้ภายในเวลาที่ก าหนดไว้ตามกฎหมาย คดีจึงยังไม่ถึงที่สุด” ดังนั้น เพอไม่ให้
ื่
ขัดกับค าพพากษาศาลฎีกาดังกล่าว เมื่อจ าเลยยื่นค าร้องขอให้ออกหมายจ าคุกคดีถึงที่สุดด้วยเหตุผลข้างต้น
ิ
ิ
ศาลควรมีค าสั่งให้ย่นระยะเวลาอทธรณ์หรือฎีกาให้สิ้นสุดลงเสียก่อน โดยถือว่ากรณีมีพฤติการณ์พเศษ
ุ