Page 320 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 320
๓๐๗
วัตถุประสงค์ของการลงโทษตามที่กล่าวมาแล้ว เป็นพื้นฐานส าคัญในการลงโทษทางอาญา โดยใน
การน าไปใช้นั้นจะเน้นหนักไปในทางใดก็จะเป็นไปตามลักษณะทางวัฒนธรรมของกลุ่มชนนั้น สภาพชีวิตความ
เป็นอยู่ ศาสนา และแนวนโยบายแห่งรัฐ ในบางช่วงเวลาแนวคิดของทฤษฎีต่าง ๆ เหล่านี้อาจเป็นเครื่องมือของ
ิ
รัฐในการคุ้มครองป้องกันสังคมในสถานการณ์ที่วิกฤตได้ หากเราพจารณาประวัติการลงโทษทางอาญาตั้งแต่
อดีตของประเทศไทยในยุคสุโขทัย อยุธยา เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน จะพบว่ามีการน าทฤษฎีต่าง ๆ มาใช้อย่างเห็น
ได้อย่างชัดเจน การน าแนวคิดดังกล่าวมาใช้นั้นจะผสมกลมกลืนกันอยู่หลายแนวคิดทฤษฎี ปรากฏในโทษและ
(๔)
วิธีการบังคับโทษในทางอาญา
การออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดและสิทธิประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาด
หมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุด เป็นหมายอาญาประเภทหนึ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความ
ิ
อาญา มาตรา ๒ (๙) ซึ่งศาลชั้นต้นเป็นผู้มีอ านาจในการออกหมายตามค าสั่งค าร้องศาลฎีกา ที่ ๑๐๙๖/๒๕๑๕
และต้องจัดการออกหมายโดยพลันตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา มาตรา ๗๖ หมายจ าคุก
ิ
ในกรณีนี้เรียกว่า หมายจ าคุกและกักขังเมื่อคดีถึงที่สุด หมายกักขังเมื่อคดีถึงที่สุด หรือหมายจ าคุกเมื่อคดี
ิ
ถึงที่สุด (สีแดง) เนื่องจากประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญาไม่ได้บัญญัติหลักเกณฑ์ค าพพากษาและ
ิ
่
ค าสั่งให้ถือว่าเป็นที่สุดไว้โดยเฉพาะ จึงต้องน าบทบัญญัติตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา
ิ
ิ
๑๔๗ มาใช้บังคับโดยอนุโลมตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา มาตรา ๑๕ ซึ่งหมายถึง การที่
ค าพพากษาหรือค าสั่งตามกฎหมายจะอทธรณ์หรือฎีกา หรือขอให้มีการพจารณาใหม่ไม่ได้ หรือการที่
ุ
ิ
ิ
ุ
ิ
ิ
ค าพพากษาหรือค าสั่งใดซึ่งสามารถอทธรณ์ฎีกาได้ หรือสามารถร้องขอให้มีการพจารณาใหม่ได้ แต่ไม่ได้มีการ
ุ
อทธรณ์หรือฎีกา หรือขอให้มีการพจารณาคดีใหม่ตามก าหนดระยะเวลาที่กฎหมายก าหนด รวมทั้งการที่
ิ
ิ
ุ
ศาลอทธรณ์ ศาลฎีกา หรือศาลชั้นต้น ซึ่งท าการพจารณาในเรื่องค าร้องขอนั้น เมื่อศาลมีค าสั่งให้จ าหน่ายคดี
ิ
เสียจากสารบบความย่อมถือได้ว่าคดีถึงที่สุดแล้ว และการสิ้นสุดเริ่มนับแต่วันที่ศาลมีค าพพากษาหรือค าสั่ง
(คดีอาญาไม่มีการขอให้มีการพจารณาคดีใหม่ จึงไม่น าประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา ๑๔๗
่
ิ
ิ
(๕)
วรรคสอง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวมาใช้บังคับ)
นักโทษเด็ดขาด ตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔ หมายความว่า “บุคคลซึ่ง
ิ
ถูกขังไว้ตามหมายจ าคุกภายหลังค าพพากษาถึงที่สุด และให้หมายรวมถึงบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามค าสั่งที่ชอบด้วย
(๔) ธานี วรภัทร์, กฎหมายว่าด้วยการบังคับโทษจ าคุก, พิมพ์ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ : วิญญูชน, ๒๕๕๕), หน้า ๓๔.
(๕) ส านักประธานศาลฎีกา ส านักงานศาลยุติธรรม, (๒๕๔๙), คู่มือการออกค าสั่งหรือหมายอาญา, หน้า ๙๖.