Page 152 - สรุปแนวคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลในคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาฯ
P. 152
ี
�
ตามกาหนดในสัญญารับทุนและภายในระยะเวลาท่ได้รับอนุมัติให้
ื
ี
ึ
�
�
้
ขยายเวลา เม่อจาเลยท่ 1 ผิดสัญญา จาเลยท่ 2 ซ่งเป็นผู้คาประกันต้อง
�
ี
ั
�
ร่วมรับผิดต่อโจทก์ด้วย ขอให้ศาลพิพากษาให้จาเลยท้งสองร่วมกันชาระ
�
ี
เงินพร้อมดอกเบ้ยให้แก่โจทก์ คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยว่า สัญญารับทุน
การศึกษาระหว่างโจทก์กับจาเลยท่ 1 ในคดีน้ เป็นสัญญาทางปกครอง
ี
�
ี
�
ี
หรือสัญญาทางแพ่ง เห็นว่า คดีน้ โจทก์เป็นบริษัทมหาชนจากัด จึงมิใช่
ื
ี
ื
กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการท่เรียกช่ออย่างอ่นและมีฐานะเป็น
กรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถ่น รัฐวิสาหกิจท่จัดต้งข้นโดย
ี
ั
ึ
ิ
พระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือหน่วยงานอ่นของรัฐ แม้เดิม
ื
โจทก์เคยมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ ซ่งจัดต้งโดยพระราชบัญญัติองค์การ
ึ
ั
โทรศัพท์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2497 ต่อมาได้เปล่ยนสถานะมาเป็น
ี
บริษัทมหาชน จากัด โดยอาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ
�
�
พ.ศ. 2542 แต่โดยท่มาตรา 22 วรรคห้า แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว
ี
ื
�
บัญญัติว่า เม่อมีการจดทะเบียนบริษัทตามวรรคหน่งแล้ว ให้การดาเนิน
ึ
กิจการของบริษัทเป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือ
ี
กฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจากัดแล้วแต่กรณี เว้นแต่ท่มีบัญญัติไว้
�
แล้วในพระราชบัญญัติน้ และมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน
ี
บัญญัติว่า ในวันจดทะเบียนบริษัทตามมาตรา 22 ให้บรรดาพนักงานตาม
ึ
ี
ท่คณะรัฐมนตรีอนุมัติเป็นลูกจ้างของบริษัทท่จัดต้งข้นโดยการเปล่ยน
ี
ั
ี
ทุนของรัฐวิสาหกิจเป็นหุ้นของบริษัทน้น ซ่งบทบัญญัติดังกล่าวเป็นการ
ึ
ั
แบ่งแยกความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานภายในองค์กรท่ต้องเป็นไป
ี
�
ตามกฎหมายเอกชนออกจากการจัดทาภารกิจในการบริการสาธารณะ
ี
ั
ท่ต้องเป็นไปตามกฎหมายมหาชน ดังน้น โจทก์อาจเป็นหน่วยงานทาง
ี
�
ปกครองประเภทหน่วยงานท่ได้รับมอบหมายให้ใช้อานาจทางปกครอง
141