Page 65 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 65

´ØžÒË





              พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารงตําแหนง

              ทางการเมือง ปกติการจัดองคกรศาลจะอยูในพระธรรมนูญศาลยุติธรรม เราใชพระราชบัญญัติ
              ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ป ๒๕๖๐

              เดิมเปนป ๒๕๔๒ เรามีแผนกศาลนี้จากรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๔๐ ซึ่งใหมีพระราชบัญญัติ
              ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ป ๒๕๔๒

              แผนกตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ ปแรกที่มีคดีขึ้นคือ ป ๒๕๔๔ จํานวน ๑ คดี
              ปจจุบันป ๒๕๖๐ มี ๗๘๘ คดี ตอมาชั้นศาล เดิมมีชั้นเดียวฟองกันที่ศาลฎีกา ปจจุบันใช

              สองชั้นศาลฟองที่ศาลฎีกาและใหสิทธิอุทธรณ ผูพิจารณาอุทธรณตองเปนผูพิพากษาหัวหนา
              คณะในศาลฎีกา องคคณะ ๙ ทาน เหมือนกัน ใชระบบไตสวน มาตรา ๖ ตามพระราชบัญญัติ

              ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ป ๒๕๖๐
              การพิจารณาใหใชระบบไตสวน มีประเด็นของผูพิพากษาเกี่ยวกับแนวการรับฟงพยานหลักฐาน

              วาถาพยานหลักฐานฟงไดไมแนชัด ศาลยกประโยชนแหงความสงสัยไดหรือไม บางทานเห็นวา
              ไมไดเพราะระบบนี้ศาลตองไตสวนใหไดความ ผมไมเห็นดวยเพราะมีมาตรา ๘ ของพระราชบัญญัติ

              ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง วานอกจาก
              ที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ กระบวนพิจารณาในศาลใหเปนขอกําหนด

              ตามวรรคหนึ่ง ในกรณีที่ไมมีขอกําหนดดังกลาวใหนําประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
              ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชเทาที่ไมขัด และมาตรา ๖ เกี่ยวกับระบบไตสวน

              ตองทําอยางไร ทั้งนี้ ตามแนวทางและวิธีการตามขอกําหนดของประธานศาลฎีกา ขณะนี้
              ขอกําหนดฉบับใหมรางเสร็จแลวเตรียมเขาที่ประชุมใหญศาลฎีกา มีคดีจงใจไมยื่นบัญชี

              ทรัพยสินหรือหนี้สิน บทกําหนดโทษคือหามดํารงตําแหนงทางการเมือง แตก็มีบทกําหนดโทษ
              ตามกฎหมายปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ พนักงานสอบสวนถาเปนคดีอาญา

              ของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง จะเปนคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ
              เปนผูรวบรวมขอเท็จจริงทั้งหมดแลวเสนอสํานวนมาที่พนักงานอัยการฟองคดี ถาพนักงานอัยการ

              ไมฟอง คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติฟองคดีได สวนผูถูกกลาวหา
              หรือจําเลยคดีไมยื่นบัญชี คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติผูยื่น

              เปนผูกลาวหา และอีกฝายเปนผูถูกกลาวหา กรณีนี้ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
              วาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง พ.ศ. ๒๕๖๐ มีสิทธิที่จะไมมา

              ศาลได องคคณะ ๙ คน เลือกจากศาลฎีกา ปจจุบันการพิจารณาอยางตํ่ามี ๗ คน แตวัน
              อานคําพิพากษาตอง ๙ คน กรณีคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ





              ๕๔                                                              เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70