Page 61 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 61
´ØžÒË
มาปรากฏตัวในศาลใหได แตถาปรากฏชัดวาจําเลยไมใหความรวมมือหลบหนีไปหรือไมเต็มใจ
ตอสูคดีก็สามารถดําเนินกระบวนพิจารณาตอไปได และสิ่งที่เขาไมตัดโอกาสการตอสูคดี
ของจําเลยแมจําเลยไมปรากฏตัวในศาลก็สามารถตั้งทนายตอสูคดีไดในการพิจารณา และคดีนี้
เปนฝมือทนายความทั้งนั้นที่จะตอสูคดีในศาลแทนจําเลย จําเลยที่หลบหนีก็มีการติดตอ
กับทนายอยู ดังนั้น จําเลยไมไดถูกลิดรอนสิทธิใดมากนักที่เขาหลบหนีไปเอง อาจเปนผลดี
กับจําเลยคือถาเขาไมไดทําผิด ศาลอาจยกฟองทําใหเขากลับมาได แทนที่คดีนั้นจะคาอยู
และเขาก็โดนหมายจับไปตลอดชีวิตตองหลบหนีไปจนคดีขาดอายุความ เห็นวาทําใหคดี
ที่เกี่ยวของกับผูดํารงตําแหนงทางการเมืองมีการกลาวหาและชําระออกมาวาเรื่องราว
เปนอยางไรเพราะนาเปนเรื่องสําคัญหนึ่งในสังคม เห็นวาพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
ที่ใกลผูพิพากษามากสุดคงเปนเรื่องนี้และอัยการกับคณะกรรมการปองกันและปราบปราม
การทุจริตแหงชาติ สวนเรื่องอื่นไมไดเปลี่ยนหลักการใดมากนัก เชน องคกรอิสระ ยกเวน
การเปลี่ยนคุณสมบัติของการเขาสูตําแหนงที่ยากขึ้น ใหดํารงตําแหนงเพียงวาระเดียว
เมื่อกอนไมใหดํารงเกินสองวาระติดกันซึ่งก็วนเวียนกัน และไมใหกรรมการในองคกรอิสระ
หนึ่งเมื่อพนตําแหนงแลวก็ไปเปนกรรมการในองคกรอิสระอื่น มิฉะนั้น จะวนเวียนซึ่งเกิด
การยึดติด ดังนั้น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญเห็นวาทําใหระบบการพิจารณาคดี
หรือการบริหารราชการเปนไปดวยดี สมกับที่เขาพยายามแกไขปรับปรุงใหดีขึ้น
นายอธิคม อินทุภูติ ผูพิพากษาศาลฎีกา
แนวคิดในการจัดตั้งแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ไมใชแนวคิด
ของศาลยุติธรรม แตเปนของคณะยกรางรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๔๐ ทานเห็นวาการนําตัวผูดํารง
ตําแหนงทางการเมืองระดับสูงที่ประพฤติมิชอบมาลงโทษทําไดนอยมาก เดิมลงโทษไดเพียง
คดีเดียว ผูรางสนใจระบบฝรั่งเศสมีศาลพิจารณาคดีของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองในระดับสูง
มีศาลเดียวใชระบบไตสวนนํามาใชในศาลฎีกาไทย แตมีขอถกเถียงวาไมควรมีศาลนี้ในไทย
เพราะขัดหลักความเสมอภาคในรัฐธรรมนูญเพราะนักการเมืองไมมีอะไรแตกตางจาก
บุคคลธรรมดา และการมีชั้นเดียวไมมีการตรวจสอบโดยศาลที่สูงกวา แตฝายที่ควรมีเห็นวา
หลักความเสมอภาคไมใชปฏิบัติตอทุกคนเสมอกัน ยังหลักการปฏิบัติตอสิ่งที่แตกตางกัน
นักการเมืองกับบุคคลทั่วไปตางกัน เขามีอํานาจบารมีชองทางทุจริตไดงาย เห็นวาการมีศาลนี้
ไมขัดตอหลักความเสมอภาค และแกปญหาศาลเดียวจบใหเปนองคคณะใหญ ๙ คน มีขอ
๕๐ เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕