Page 59 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 59

´ØžÒË





              รัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ จําเปนตองมี เพราะอาจมีผูโตแยงคัดคาน
              ในกระบวนวิธีพิจารณาซึ่งไมมีกฎหมายรองรับแนนอน  จึงเปนสิ่งที่ดี


                       เกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญเห็นวามีอํานาจหนาที่ที่กวางขวางขึ้นมีชองทางใหคน
              ทั่วไปสามารถรองในประเด็นที่วาเขาถูกละเมิดสิทธิตามรัฐธรรมนูญซึ่งกวางมาก ปกติสิทธิพื้นฐาน

              เรามีศาลยุติธรรมดูแลอยูแลวในทางแพงอาญา ถาเปนเรื่องถูกละเมิดสิทธิทางปกครองก็มี
              ศาลปกครอง เดิมศาลรัฐธรรมนูญจะไมกาวลวงในเรื่องการละเมิดสิทธิ เรื่องสิทธิมนุษยชน

              ก็มีคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติดูแล จึงตองตีความกันตอไปวาศาลรัฐธรรมนูญจะรับ

              เรื่องเหลานี้เพียงใด กับสวนที่อาจทับซอนกับเขตอํานาจของศาลอื่น

                       ที่เกี่ยวกับศาลยุติธรรมมีผลตั้งแตป ๒๕๔๐ ไดกอกําเนิดศาลยุติธรรมสาขาหนึ่ง

              คือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง เปนศาลทางอาญาศาลแรก
              ที่ใชระบบไตสวน ขอยอนประวัติสั้นๆ ในระบบวิธีพิจารณาคดีของไทย ประมวลกฎหมาย

              วิธีพิจารณาความอาญา เกิดจากแรงกดดันสองทางจากมหาอํานาจ ฝรั่งเศสกับอังกฤษซึ่งมี
              ระบบตางกัน ฝรั่งเศสเปนระบบของยุโรปซึ่งใชการไตสวนใหศาลมีบทบาทแสวงหาความจริง

              คูความก็ไมเทาเทียมกัน เพราะฝายหนึ่งเปนรัฐ แตอังกฤษใหประชาชนฟองคดีถือวาเทาเทียม
              กัน ใชการตอสูระหวางโจทก จําเลย ศาลทําตัวเปนกลาง ไมยุงเกี่ยวแสวงหาความจริง

              แตปลอยใหคูความตอสูกันในพยานหลักฐานอยางเต็มที่ สองประเทศพยายามเอาระบบมาใส

              ในไทยจึงกลายเปนระบบผสม เดิมยกรางมาเปนของยุโรปเพราะคนรางคนแรกเปนผูเชี่ยวชาญ
              กฎหมายฝรั่งเศส แตอังกฤษโตแยงคัดคานและใสแนวคิดนี้เขามา แตดวยอิทธิผลของอังกฤษ

              ทําใหกฎหมายไทยสมัยนั้นคอนขางไปในทางของอังกฤษ ศาลเปนกลาง ใหคูความตอสูคดีกัน
              ในศาล และเห็นวาการที่ศาลไมไปแทรกแซงกาวกายในกระบวนพิจารณาที่คูความตอสูกัน

              มีทั้งขอดีขอเสีย แตนามีขอดีมากกวาและสถาบันศาลยังเปนที่เชื่อถือเคารพสุดทายของประชาชน
              มาจากการที่ศาลเปนกลาง การที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง

              ในป ๒๕๔๐ และมีระบบไตสวนจะทําใหศาลตองเกี่ยวของกับคดีมากขึ้นอาจไมเปนกลาง
              เหมือนกอน และไมแนใจวาแนวคิดนี้คนในสังคมเห็นพองดวยหรือไม แตวาคนรางเห็นวา

              การนําระบบไตสวนมาใชในคดีบางอยางนาจะไดผลดีขึ้นสามารถเอาคนผิดมาลงโทษ
              ไดมากขึ้น จึงนําแนวคิดนี้ไปใชในคดีบางประเภทที่เปนคดีนโยบายที่รัฐตองการปราบปราม

              คือการทุจริตและประพฤติมิชอบ และคดีคามนุษย แตระบบไตสวนตามประวัติศาสตร

              ตองเปนเรื่องระหวางรัฐกับประชาชน รัฐจะเปนโจทกยื่นฟองเลยไมไดตองมีการสอบสวน




              ๔๘                                                              เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64