Page 56 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 56

´ØžÒË





                         แนวคิดวาดวยกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญแบงเปน ๒ แนวคิด คือแนวคิดที่วา

                 มีศักดิ์เทากฎหมายธรรมดา  และมีศักดิ์ไมเหมือนกฎหมายธรรมดา

                         แนวคิดที่หนึ่ง เห็นวาเปนกฎหมายธรรมดาที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวของโดยตรงกับ

                 เนื้อหาสาระที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญซึ่งรัฐธรรมนูญมีศักดิ์เทากฎหมายธรรมดาเพราะกระบวนการ
                 จัดทําและแกไขเหมือนกฎหมายธรรมดาเพียงแตเนื้อหาสาระตางจากกฎหมายธรรมดา

                 สวนแนวคิดที่สอง เนื่องจากมีการระบุโดยชัดแจงวาเปนกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ และระบุ
                 ใหมีการตรากฎหมายเพื่อเสริมรัฐธรรมนูญใหมีประสิทธิภาพ มีสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญ

                 ตามที่กําหนดไว และแยกเปน ๒ กรณี (๑) ระบบที่ถือวากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญมีฐานะ
                 เทากับการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ เชน อิตาลี ไดแยกกฎหมายออกเปน ๓ ประเภท

                 คือ กฎหมายธรรมดา กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ

                 กําหนดใหการตรากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญกระทําภายใตกระบวนการเดียวกับการแกไข
                 เพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ยอมถือวากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญของอิตาลีมีสถานะเชนเดียว

                 กับรัฐธรรมนูญ (๒) ระบบที่ถือวากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญแกไขยากกวากฎหมายธรรมดา
                 แตงายกวารัฐธรรมนูญ เชน ฝรั่งเศส มีกระบวนการตราเหมือนกฎหมายธรรมดาแตมีลักษณะ

                 พิเศษ  เชน  การเสนอราง  กรณีที่มีการขัดกันในการลงมติรับรางระหวางสองสภา ฯลฯ

                         สถานะของกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญจะมีสถานะอยางไรในระบบกฎหมายหนึ่งๆ

                 อาจแยกได ดังนี้ มีสถานะเทากับกฎหมายธรรมดา มีสถานะสูงกวากฎหมายธรรมดาแตตํ่ากวา
                 รัฐธรรมนูญ และมีสถานะเทากับรัฐธรรมนูญ สรุปจะมีสถานะใดยอมขึ้นอยูกับ (๑) กําหนด

                 โดยชัดแจงโดยบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ (๒) พิจารณาจากกระบวนการตรากฎหมาย
                 ประกอบรัฐธรรมนูญวามีลักษณะเชนเดียวกับกฎหมายประเภทใด ถามีเหมือนกฎหมายธรรมดา

                 สถานะก็จะเหมือนกับกฎหมายธรรมดา แตไมถึงจะมีสถานะเทากับรัฐธรรมนูญ


                         กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญในระบบกฎหมายไทย ความเปนมาของกฎหมาย
                 ประกอบรัฐธรรมนูญบัญญัติครั้งแรกในรัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ ซึ่งมีหลายหลักการ เชน ใหพรรค

                 การเมืองเขมแข็ง มีระบบตรวจสอบนายกรัฐมนตรีที่ทําไดยาก ใหมีองคกรอิสระ ซึ่งเขียน
                 แตหลักการอํานาจหนาที่ไวสวนรายละเอียดเรานํามาไวในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ

                 จึงตองอาศัยกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญกับเจตนารมณที่ตองการใหมีระบบการตรวจสอบ
                 ที่มีประสิทธิภาพจึงตั้งองคกรตางๆ ขึ้นมา ใหขอสังเกตวาศาลรัฐธรรมนูญในป ๒๕๔๐






                 มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑                                                        ๔๕
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61