Page 57 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 57
´ØžÒË
เราบอกวาวิธีพิจารณาใหเปนไปตามขอกําหนด ศาลรัฐธรรมนูญจึงไมมีเครื่องมือสําคัญ
เพราะไมมีการไปออกกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๕๐ จึงเห็นจุดออนและปดชองนี้
กําหนดใหมีกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีของศาลรัฐธรรมนูญ ของศาล
ปกครอง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนพระราชบัญญัติไมไดเปนกฎหมาย
ประกอบรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการการเลือกตั้ง คณะกรรมการปองกันและปราบปราม
การทุจริตแหงชาติ ผูตรวจการแผนดิน เปนกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ จาก ๗ องคกร
มี ๔ องคกรเปนไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ คือ คณะกรรมการปองกันและปราบปราม
การทุจริตแหงชาติ คณะกรรมการการเลือกตั้ง คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน และผูตรวจการ
แผนดิน ขณะที่ศาลปกครอง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติกระทําโดยพระราชบัญญัติ
แตศาลรัฐธรรมนูญออกขอกําหนดของศาลวาดวยวิธีพิจารณาคดี นี่คือรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๔๐
ในรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ยังคงหลักการใหมีกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ และทําใหเกิด
ความชัดเจนมากขึ้น ยังทําใหความแตกตางระหวางกระบวนการตรากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
กับกฎหมายธรรมดา ซึ่งเปนพัฒนาการเกี่ยวกับกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ตามมาตรา ๑๓๘
กําหนดใหมีกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ๙ ฉบับ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย
ประชามติ ในรัฐธรรมนูญ ๒๕๖๐ ก็ไมมีแลว พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย
วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญในป ๒๕๕๐ ก็ยังไมมี แตมีในป ๒๕๖๐ ทั้งที่มีศาลรัฐธรรมนูญ
มา ๒๐ ป สวนรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๖๐ ยังคงหลักการเดิมแตเปลี่ยนแปลงหลักการสําคัญ
มี ๑๐ ฉบับ ในสวนคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เดิมมีสถานะเปนพระราชบัญญัติ
ใน ๑๐ ฉบับ แยกเปน ๔ กลุม (๑) การเขาสูอํานาจของสถาบันการเมือง (๒) การมีสวนรวม
ทางการเมืองของประชาชน (๓) การจัดตั้งองคกร การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ (๔)
วิธีพิจารณาคดีของศาล
ประเด็นความแตกตางระหวางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญกับพระราชบัญญัติ
อยางนอย ๔ ประการ (๑) เนื้อหาพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญถูกกําหนดไวโดย
รัฐธรรมนูญ สวนพระราชบัญญัติเปนอํานาจของฝายนิติบัญญัติที่ตรากฎหมายตามขอบอํานาจ
(๒) ระยะเวลาในการตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญมีกําหนดไวชัดแจงกําหนดเวลา
การตราใหแลวเสร็จซึ่งเปนการแกไขจุดออนของป ๒๕๕๐ (๓) กระบวนการตราพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญ ผูมีสิทธิเสนอราง ป ๒๕๕๐ กฎหมายที่เกี่ยวกับการเงินก็ไมจําเปนตองมี
คํารับรองของนายกรัฐมนตรี แตป ๒๕๖๐ ปรับวาถาเกี่ยวกับการเงินตองใหนายกรัฐมนตรี
๔๖ เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕