Page 60 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 60
´ØžÒË
ตองมีสํานวนการสอบสวนหรือการรวบรวมพยานหลักฐานเบื้องตนของภาครัฐเปนหลักกอน
มีสํานวนของพนักงานสอบสวนซึ่งพนักงานอัยการใชเปนหลักในการสั่งคดีและศาลเรียกไป
ประกอบการพิจารณาไดเมื่ออัยการสืบโจทกเสร็จถาเปนสํานวนคดีทุจริตและประพฤติ
มิชอบก็มีสํานวนหลักของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ แตในคดี
ทุจริตและคามนุษยจะมีโอกาสที่ราษฎรเปนโจทกฟอง ซึ่งคิดวาในสํานวนแบบนี้ศาลจะใช
อะไรเปนหลักในการไตสวนหรือทํางานตอไป ในกรณีที่ราษฎรเปนโจทกฟองคดีทุจริต ศาลตอง
ทําเหมือนเดิมคือใหโจทกนําสืบไปกอนไมสามารถใชระบบการไตสวนไดอยางเต็มรูปแบบ
เหมือนคดีที่รัฐเปนโจทก สํานวนหลักสําคัญเพราะการที่ศาลแสวงหาความจริงศาลตองมีขอมูล
หรือความรูเกี่ยวกับคดีนั้นอยูกอนการพิจารณา มิฉะนั้น ศาลไมถามไมได สํานวนหลักจึงเปน
สาระสําคัญ คดีทุจริตที่ราษฎรเปนโจทกเห็นวาไมเขากับระบบไตสวนแตไมอาจแยกได เชนนี้
ศาลตองวางแนวทางปฏิบัติและสรางเปนวัฒนธรรมจารีตในการพิจารณาคดีลักษณะคดี
เปนสิ่งซึ่งเกิดขึ้นและสืบมาจากคดีอาญานักการเมืองที่พิจารณาในศาลฎีกา ในคดีอาญา
นักการเมืองเปนเปาหมายสําคัญตั้งแตรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๔๐ เขาเห็นวาคดีอาญาที่นักการเมือง
ทุจริต รัฐดําเนินการไมไดผลนัก คือไมสามารถดําเนินคดีไดเพราะเขามีอํานาจ กับใชเวลา
นานมากนําตัวมาลงโทษไดไมทันความตองการของสังคมจึงเกิดแนวคิดดําเนินคดีใหรวดเร็วขึ้น
จึงเหลือศาลชั้นเดียวในป ๒๕๔๐ และใชระบบไตสวน ทําใหศาลซักถามพยานเพิ่มเติมได
ศาลเขาไปแทรกแซงได มีอํานาจเรียกพยานบางปากมาสอบเอง ตัดพยานที่เห็นวาไมจําเปน
ศาลกําหนดเกมการพิจารณาคดี มีประเด็นในวิธีพิจารณาคดีอาญานักการเมืองคือการดําเนิน
กระบวนพิจารณาลับหลังจําเลย ซึ่งคดีนี้จําเลยมักหลบหนี และจับไมได คดีไมมีการพิจารณา
ตัดสิน ถกเถียงกันในชั้นกรรมาธิการจนเปนกฎหมายออกมา การพิจารณาตอหนาจําเลย
ก็มีขอยกเวนและในคดีบางอยางในตางประเทศก็ไมใชเรื่องที่ตองถือเครงครัด คือการใหโอกาส
จําเลยตอสูคดีอยางเต็มที่กับการพิจารณาตอหนาจําเลยไมเหมือนกันทีเดียว เพราะบางครั้ง
ถารัฐใหโอกาสจําเลยในการตอสูคดีแลวแตเขาไมใชโอกาสคือหลบหนี ก็ไมนาเอาเรื่องการพิจารณา
ตอหนาโดยเครงครัดมาใชทําใหไมสามารถดําเนินกระบวนพิจารณาตอ หลักนี้เอามาใชในวิธี
พิจารณาคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองคือมีหลักที่รัฐตองใหโอกาสจําเลยเต็มที่
ในการตอสูคดีเสียกอน ถาไมมีแลวการที่ไมมีตัวจําเลยมาสงศาลอาจเปนประเด็นที่ศาลไมรับ
ฟองได จึงตองมีการออกหมายจับหรือแสดงใหเห็นวามีการนัดหมายแลวจําเลยไมมาโดย
ไมมีเหตุอันควร และจากศาลประทับฟองยังตองมีกระบวนการที่จะพยายามนําตัวจําเลย
มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑ ๔๙