Page 63 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 63
´ØžÒË
ก็ขาดอายุความ เปนปญหาที่ตองแกไขเราจึงเสนอวาคดีนักการเมืองตองเหมือนคดีอาญาทั่วไป
คือตองมีจําเลยมาศาลวันฟองเพื่อใหอายุความหยุดลงตามประมวลกฎหมายอาญา
แตคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญไมเห็นดวย สวนปญหาจําเลยหลบหนีเราแกปญหาคือถาหนีกอน
หรือระหวางพิจารณาจะไมใหนับอายุความที่หลบหนีมาเปนสวนหนึ่งของอายุความคือไดตัว
เมื่อใดก็นํามาฟองได ถาหนีไมมาฟงคําพิพากษาก็จะไมไดรับประโยชนจากอายุความลวงเลย
การลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๕ คดีอาญาทั่วไปศาลตัดสินแลวไมมา
จะมีอายุความลวงเลยการลงโทษคือถาไมไดตัวมาภายในเวลาเทานั้นนี้โทษที่ศาลลงไว
ก็จะหายไป มีปญหาความรูสึกของจําเลยเหมือนกับไมไดตอสูคดีกับอัยการเทานั้น แตตอสู
กับศาลดวยในระบบไตสวน แตคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญไมเห็นดวยกับประเด็นการฟองคดี
โดยที่จําเลยหลบหนี แกรางกอนนําเขาที่ประชุมสภานิติบัญญัติแหงชาติ การพิจารณาคดีลับหลัง
จําเลยตั้งแตตนจนจบฟอง/พิจารณา/ตัดสินโดยไมตองมีตัว ลงโทษได ศาลฎีกาแผนกคดีอาญา
ของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ในยุคนั้นเมื่อปที่แลวประชุมกันเสียงสวนใหญเห็นวานาจะ
มีปญหา เราตั้งขอสังเกตไปที่คณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญ (๑) ขัดตอหลักการพิจารณาคดี
ที่ตองทําตอหนาจําเลย (๒) หลักการพิจารณาคดีที่ไมตองมาศาลเลยก็ลงโทษไดมีใชในยุโรป
บางประเทศ แตเราตองการแกปญหาของเราไมตองสนใจแนวคิดชาติอื่น (๓) ไดคําพิพากษา
ลงโทษจําเลยแตคําพิพากษานั้นไมมีผลบังคับ (๔) ตํารวจไมตองระวังวาจําเลยจะหลบหนีหรือไม
ไมตองจับเพราะศาลพิจารณาได (๕) การสงผูรายขามแดน ประเทศที่ใชระบบไตสวนในยุโรป
เวลาลงโทษจําเลย ประเทศที่ไมใชระบบนี้จะไมสงตัวให สุดทายคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญ
เห็นวาหลักการนี้จําเปนตองนํามาใชในไทยเพื่อแกปญหาผูดํารงตําแหนงทางการเมืองที่หลบหนี
ไปตางประเทศ แตเราขอเพิ่มบทกฎหมายเพื่อไมใหขัดตอหลักการมากไป (๑) สิทธิของ
จําเลยในการตอสูคดีตั้งทนายได (๒) ถาหลบหนีแลวมีโอกาสไดรับการพิจารณาคดีใหม
ซึ่งคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญยอม รวมถึงขอใหจํากัดตํารวจวาถาหลบหนีแลวตองไปตามมา
เกิดบทที่วาเมื่อฟองศาลแลวไมมีตัวตองพิสูจนใหศาลเห็นวาพยายามตามจับแลวแตจับไมได
เมื่อศาลรับฟองใหทิ้งเวลาไปสามเดือนกอนเริ่มการพิจารณา เพื่อใหตํารวจไปตามจําเลย
มาอีกครั้งและตองรายงานศาลเปนระยะดวยวาทําอะไรไปบาง และศาลใหความเปนธรรม
กับจําเลยอยางเต็มที่
เรื่องคดีเลือกตั้งไมไดมีอะไรเปลี่ยนแปลงไปจากรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๕๐ ที่เปลี่ยนแปลง
คืออํานาจของคณะกรรมการการเลือกตั้ง เดิมถาเปนชวงเวลากอนประกาศผลการเลือกตั้ง
๕๒ เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕