Page 62 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 62

´ØžÒË





                 ถกเถียงในการทําประชาพิจารณ ประชาชนเห็นวาควรมีศาลนี้ ๘ หมื่นเศษ เห็นวาไมควรมี

                 ๖ พันเศษ และจําเลยที่เขามาศาลนี้มักถูกลงโทษ ทําใหเห็นวาระบบนี้นาจะมีประสิทธิภาพ
                 ในการเอาคนผิดมาลงโทษ และเปนที่มาในการนําระบบไตสวนมาใชในคดีทุจริตและคามนุษย

                 แมกฎหมายสองฉบับนี้จะเสนอโดยสํานักงานศาลยุติธรรมแตเปนนโยบายที่กําหนดวาใหใช
                 ระบบไตสวน  และเพิ่มการคุมครองเหยื่อหรือผูเสียหายในคดีทําใหไดรับคาชดใชคาทดแทน


                         พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารง
                 ตําแหนงทางการเมือง ซึ่งคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญใหศาลยกรางและนําเขาเพื่อพิจารณา

                 และเขาสูสภานิติบัญญัติแหงชาติยกรางเพื่อแกปญหาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารง
                 ตําแหนงทางการเมือง ๓ เรื่อง (๑) การยอมรับในทางสากล เราถูกตั้งขอสังเกตในการอุทธรณ

                 คําพิพากษาของศาลนี้มาเมื่อป ๒๕๔๐ ซึ่งไมมีอุทธรณฎีกา เมื่อป ๒๕๕๐ ศาลเสนอแบบตั้งตน

                 ที่ศาลอุทธรณ หรือแบบสองชั้นในศาลฎีกาอาจพิจารณาโดยผูพิพากษาที่อาวุโสนอยและอุทธรณ
                 ไปยังผูพิพากษาหัวหนาคณะที่มีอาวุโสมาก แตแนวนี้ก็ถูกปฏิเสธโดยคณะยกรางสมัยนั้น

                 ทานเพิ่มระบบอุทธรณในรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๕๐ แตไมใชระบบอุทธรณแทๆ เปนการรื้อฟน
                 คดีอาญาเพื่อพิจารณาใหมเนื่องจากใหสิทธิจําเลยเทานั้นที่อุทธรณไดและมีพยานหลักฐานใหม

                 ที่ทําใหขอเท็จจริงเปลี่ยนแปลงไปในสาระสําคัญคืออาจทําใหยกฟองจําเลยได ซึ่งความจริง
                 ยังไมมีคดีใดอุทธรณไดเนื่องจากไมสามารถหาพยานหลักฐานใหมมาแสดงไดเพราะการ

                 อุทธรณมีเวลา ๓๐ วัน หลังจากตัดสินมีพยานใดก็นําเขาในชั้นแรกแลว ในป ๒๕๖๐ เราเสนอ
                 ระบบอุทธรณซึ่งคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญก็ยอมรับใหมีระบบอุทธรณที่เปนสากลมีการ

                 ตรวจสอบโดยองคคณะที่สูงกวาแตทานไมตองการใหพิจารณาเปนสองชั้นศาล ทานใชระบบ
                 อุทธรณในศาลชั้นเดียวกัน เพียงแตองคคณะที่พิจารณาอุทธรณจะมีสถานะที่สูงกวา จึงเปน

                 การพิจารณาโดยผูพิพากษาศาลฎีกาทานใดก็ไดแตอุทธรณตอหัวหนาคณะที่อาวุโสสูงกวา

                         ปญหาคดีขาดอายุความในมือศาล มาจากความหวังดีของศาล ตอนทํากฎหมาย

                 ป ๒๕๔๐ เราออกแบบใหจําเลยไมตองมาศาลในวันฟอง การที่จําเลยตองมาศาลก็มีผลตอ

                 อายุความเนื่องจากประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๕ กําหนดวาฟองตองนําตัวมาศาล
                 อายุความจึงจะสะดุดหยุดลง เมื่อฟองแตไมมีจําเลยมาอายุความก็เดินตอซึ่งจะขาดในมือศาล

                 คดีที่กระทบตอประชาชนมากคือ คดีอดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ถูกกลาวหา
                 ปฏิบัติหนาที่มิชอบโกงที่ดินวัด คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจรติแหงชาติ

                 ฟองศาลฎีกาวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๓ ศาลรับฟองเพราะไมตองนําจําเลยมาศาลวันรุงขึ้น




                 มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑                                                        ๕๑
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67