Page 73 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 73

´ØžÒË





              พยานหลักฐานและการพิสูจนการกระทําความผิดมากกวาการพิสูจนความบริสุทธิ์

              ของผูถูกกลาวหาซึ่งมีความโนมเอียงไปในทิศทางของระบบกลาวหา และการพิจารณาคดีของศาล
              ในทางปฏิบัติตางเปนที่ยอมรับกันวาศาลจะวางตัวเปนกลาง โดยถือหลักวาเปนหนาที่ของโจทก

              ที่ตองพิสูจนความผิดของจําเลย และศาลไมเขาไปสอดแทรกถามพยานโดยไมจําเปน หรือรองขอ
              ใหมีการแสวงหาพยานหลักฐานหรือขอเท็จจริงมากไปกวาที่คูความไดนําเสนอตอศาล


                       ในชั้นไตสวนขอเท็จจริงของคดีทุจริตและประพฤติมิชอบภายใตสํานักงาน
              คณะกรรมการ ป.ป.ช. สํานักงานคณะกรรมการ ป.ป.ท. รวมถึงพนักงานสอบสวนที่ทําการ

              สอบสวนเบื้องตนนั้น สํานักงานคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสํานักงานคณะกรรมการ ป.ป.ท.

              ใชระบบไตสวน แตพนักงานสอบสวนใชประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แมตอมา
              จะไดมีการแกไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๓๑ กําหนดให

              พนักงานสอบสวนแสวงหาพยานหลักฐานทุกชนิดอันเกี่ยวกับการกระทําความผิดเพื่อใหรูตัว
              ผูกระทําความผิดและพิสูจนความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผูถูกกลาวหา ซึ่งมีหลักการเดียวกับ

              ระบบไตสวนแลวก็ตาม เชนเดียวกับคดีคามนุษย แมจะมีพระราชบัญญัติปองกันและปราบปราม

              การคามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๑ แตไมมีการบัญญัติถึงวิธีการสอบสวนเปนการเฉพาะไว การสอบสวน
              จึงตองปฏิบัติตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา นอกเหนือจากระบบไตสวน

              ขอเท็จจริงที่ปรากฏในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปราม
              การทุจริตฯ และพระราชบัญญัติมาตรการของฝายบริหารในการปองกันและปราบปราม

              การทุจริตฯ แลว ปจจุบันพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๙ และ
              พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ พ.ศ. ๒๕๕๙ ไดกําหนดใหนํา

              “ระบบไตสวน” มาใชในการดําเนินกระบวนพิจารณาคดีของศาลในคดีทั้งสองประเภท

              อยางชัดเจนขึ้น สงผลใหศาลมีบทบาทสําคัญมากขึ้นในการแสวงหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐาน
              เพิ่มเติมในคดี มิไดถูกจํากัดใหพิจารณาเพียงขอเท็จจริงและพยานหลักฐานที่คูความเสนอตอศาล

              จึงสงผลใหมีขอหวงใยหลายประการเกี่ยวกับวิธีการสอบสวนและวิธีพิจารณาคดีของคดี
              ทั้งสองประเภทดังกลาววาเปนไปในทิศทางเดียวกันหรือมีความสอดรับกันหรือไม


                       จึงเห็นควรมีการศึกษาวิเคราะหแนวทางการดําเนินงานดานการสอบสวนของคดีทุจริต
              และประพฤติมิชอบ และคดีคามนุษยในปจจุบันวาเปนไปในทิศทางหรือมีความสอดรับ

              กับวิธีพิจารณาคดีในระบบไตสวนที่กําหนดไวอยางชัดเจนในพระราชบัญญัติวิธีพิจารณา






              ๖๒                                                              เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78