Page 78 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 78

´ØžÒË





                 ของการสอบสวนและปริมาณคดีที่มากจนกระทบความรวดเร็วในการสอบสวนคดีอยางหลีกเลี่ยง

                 ไมได จึงควรกระจายใหแกคณะกรรมการ ป.ป.ช. ภาค หรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. จังหวัด
                 และสํานักงาน ป.ป.ช. จําตองฝกอบรมและเตรียมกําลังพนักงานไตสวนในระดับภาค หรือระดับ
                 จังหวัด เพื่อสนับสนุนการทําหนาที่ของ ป.ป.ช. ภาค หรือจังหวัดในการสอบสวนคดีทุจริต

                 อยางไรก็ตาม การกระจายอํานาจดังกลาวก็ควรสงวนอํานาจใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไวในกรณี
                 ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นวาคดีในจังหวัดใดเปนคดีสําคัญอยูในความสนใจของประชาชน

                 หรือมีผลกระทบตอความสงบเรียบรอยและความมั่นคงของประเทศ คณะกรรมการ ป.ป.ช.
                 ควรมีอํานาจที่จะสั่งใหโอนเรื่องดังกลาวมาสอบสวนที่สวนกลางได


                             ๑.๑)  คณะผูวิจัยเห็นวาการกระจายอํานาจใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. ประจําภาค
                 เปนผูมีอํานาจไตสวนคดีทุจริตที่เกิดขึ้นในภาคของตนนาจะเปนแนวทางที่เหมาะสม เพราะเปน

                 การสรางความรวดเร็วและประสิทธิภาพในการสอบสวนคดีทุจริตที่สอดคลองกับรัฐธรรมนูญ
                 แหงราชอาณาจักรไทย คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประจําภาคยังเปนผูทรงคุณวุฒิชั้นผูใหญ

                 ที่มีระดับสูงกวาเจาหนาที่ของรัฐภายในจังหวัดที่เปนผูถูกไตสวนทุกตําแหนง อีกทั้งยังปองกัน
                 ไมใหเกิดเหตุการณความเกรงใจกันระหวางผูไตสวนกับผูถูกไตสวนซึ่งอาจเกิดขึ้นได
                 หากกําหนดใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. ประจําจังหวัดเปนผูมีอํานาจไตสวน โดยคณะผูวิจัยเห็นวา

                 การเขาสูตําแหนงของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ประจําภาคควรเปนการแตงตั้งไปจากคณะกรรมการ
                 ป.ป.ช. เพื่อทําหนาที่ไตสวนคดีแทนคณะกรรมการ ป.ป.ช. และไมใหงานซํ้าซอนกับคณะกรรมการ

                 ป.ป.ช. จังหวัด คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประจําภาคควรมีหนาที่ไตสวนคดีทุจริตแทน
                 คณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่เกิดขึ้นในภาคที่ดูแล นอกจากนี้ ในกรณีคดีสําคัญคณะกรรมการ

                 ป.ป.ช. ยังคงไวซึ่งอํานาจในการเรียกสํานวนกลับมาใหสวนกลางเปนผูมีอํานาจไตสวนหรือ
                 มอบหมายใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. ประจําภาคอื่นเปนผูมีอํานาจดําเนินการไตสวนแทน”

                             เพื่อใหเปนไปตามแนวทางดังกลาว คณะผูวิจัยจึงเห็นควรแกไขเพิ่มเติม

                 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒
                 ดังนี้

                             ๑) เพิ่มเติม “หมวด ๙/๓ กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
                 ประจําภาค”

                             ๒) เพิ่มเติม  มาตรา  ๑๐๓/๒๒  โดยใหมีขอความดังตอไปนี้
                             “มาตรา ๑๐๓/๒๒ ใหมีกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตประจําภาค

                 จํานวนหาคนตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด ประกอบดวย ประธานกรรมการปองกัน




                 มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑                                                        ๖๗
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83