Page 75 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 75

´ØžÒË





              จึงดําเนินการควบคูกับการคุมครอง ชวยเหลือ เยียวยาไปพรอมกัน ซึ่งพนักงานอัยการ

              พนักงานเจาหนาที่ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กรมอนามัย
              กระทรวงการตางประเทศ และสํานักงานตรวจคนเขาเมือง จึงตองประสานการทํางานรวมกัน

              ทําใหการสอบสวนที่ตองรวบรวมพยานหลักฐานนั้น ตองมีการรวบรวมพยานหลักฐานเกี่ยวกับ
              ความเสียหายของผูเสียหาย เพื่อใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งใหจําเลยชดใชคาเสียหายดวย

              การทํางานจึงตองดําเนินการไปควบคูกัน ลักษณะของการทํางานจึงตองบูรณาการ เพื่อนําตัว
              ผูกระทําความผิดมาลงโทษ การติดตามทรัพยสินที่อยูในขายที่จะยึดหรืออายัดตามกฎหมาย

              ฟอกเงิน ดวยเหตุนี้จึงมีลักษณะการทํางานเปนทีมสหวิชาชีพ ซึ่งแตกตางจากการสอบสวน

              คดีอาญาโดยทั่วไปที่พนักงานสอบสวนจะดําเนินการสอบสวนเปนเอกเทศ

                       ๑.๒  การสอบสวนคดีอาญาในคดีทุจริตและประพฤติมิชอบมีความแตกตาง

              กับคดีอาญาทั่วไป เพราะกฎหมายไทยจัดตั้งองคกรพิเศษขึ้นเพื่อทําการไตสวนโดยเฉพาะ
              คณะกรรมการ ป.ป.ช. และคณะกรรมการ ป.ป.ท. โดยมีกระบวนการในการรวบรวมพยาน

              หลักฐานแยกตางหากจากการสอบสวนคดีอาญา เพราะใชคําวา “ไตสวน” และมีระเบียบ กฎเกณฑ

              ขอบังคับกําหนดไวเปนการเฉพาะ แตกตางจากการสอบสวนคดีอาญา โดยเฉพาะอยางยิ่ง
              การไตสวนนั้นเนื่องจากเปนคดีรายแรง จึงกําหนดผูมีอํานาจไตสวนไวมากกวาหนึ่งคน

              หรือในบางกรณีทําเปนองคคณะไตสวน พนักงานไตสวนตองมีวุฒินิติศาสตรบัณฑิต
              และเนติบัณฑิตหรือนิติศาสตรมหาบัณฑิตและผานการอบรมที่จะเปนพนักงานไตสวน

              ทั้งนี้ เพราะถือวาการไตสวนตองกระทําโดยรอบคอบ และตองประกอบดวยเจาพนักงาน
              ที่มีคุณวุฒิเหมาะสม เพื่อใหพนักงานอัยการพิจารณาสั่งคดี แตถาพนักงานอัยการไมสั่งฟองคดี

              คณะกรรมการ ป.ป.ช. ก็จะฟองคดีเองได ซึ่งมีความแตกตางกับการสอบสวนคดีอาญาโดยทั่วไป

              ที่พนักงานสอบสวนไมอาจฟองคดีไดเอง ตองใหพนักงานอัยการฟองคดีเทานั้น เวนแตผูเสียหาย
              จะฟองคดีเอง


                       อยางไรก็ดี แมวาการสอบสวนจะเปนอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
              และคณะกรรมการ ป.ป.ท. แตพนักงานสอบสวนคดีอาญาทั่วไป มีสวนเกี่ยวของในเบื้องตน

              คือ การรับคํารองทุกขหรือกลาวโทษ และรวบรวมพยานหลักฐานในเบื้องตนภายใน ๓๐ วัน
              หากเห็นวาเปนคดีทุจริตจะตองสงเรื่องใหแกหนวยงาน ป.ป.ช. หรือ ป.ป.ท. แลวแตกรณี

              เพื่อดําเนินการตอไป สวนสํานวนการสอบสวนในเบื้องตนนี้คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือ






              ๖๔                                                              เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80