Page 79 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 79
´ØžÒË
และปราบปรามการทุจริตประจําภาคคนหนึ่งและกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
ประจําภาค ซึ่งไดรับการแตงตั้งโดยตรงจากคณะกรรมการ ป.ป.ช.
การกําหนดพื้นที่จังหวัดใหสังกัดคณะกรรมการ ป.ป.ช. ประจําภาคใหกระทํา
โดยคําสั่งของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ใหผูอํานวยการสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด จังหวัดใดจังหวัดหนึ่ง
ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมายและอยูในภาคทําหนาที่เปนเลขานุการ”
๓) เพิ่มเติม มาตรา ๑๐๓/๒๓ โดยใหมีขอความดังตอไปนี้
“มาตรา ๑๐๓/๒๓ ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
ประจําภาคมีอํานาจหนาที่ในเขตภาค ดังนี้
(๑) ไตสวนและวินิจฉัยวาผูดํารงตําแหนงทางการเมืองหรือเจาหนาที่ของรัฐ
ตั้งแตผูบริหารระดับสูงหรือขาราชการซึ่งดํารงตําแหนงตั้งแตผูอํานวยการกองรํ่ารวย
ผิดปกติ กระทําความผิดฐานทุจริตตอหนาที่หรือกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการ
หรือความผิดตอตําแหนงหนาที่ในการยุติธรรมหรือความผิดที่เกี่ยวของกัน รวมทั้งดําเนินการ
กับเจาหนาที่ของรัฐหรือขาราชการในระดับตํ่ากวาที่รวมกระทําความผิดกับผูดํารงตําแหนง
ดังกลาว เวนแตคดีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนดใหเปนอํานาจไตสวนของคณะกรรมการ
ป.ป.ช. แตเพียงผูเดียวโดยทําเปนประกาศของคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือคณะกรรมการ
ป.ป.ช. มีคําสั่งใหโอนการไตสวนกลับไปใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ประจําภาคอื่นดําเนินการไตสวนแทน
(๒) พิจารณาเสนอมาตรการ ความเห็น หรือขอเสนอแนะตอคณะกรรมการ
ป.ป.ช. เพื่อประโยชนในการปองกันและปราบปรามการทุจริต
(๓) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย
กรณีตามวรรคหนึ่ง ใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
ประจําภาคมีอํานาจลงนามในหนังสือเพื่อดําเนินการใหเปนไปตามอํานาจหนาที่ได”
๑.๒) การกระจายอํานาจใหพนักงานไตสวนหรือคณะอนุกรรมการ
ในสวนเรื่องของคดีที่อยูในอํานาจไตสวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. แมจะมี
การแตงตั้งพนักงานไตสวนผูรับผิดชอบทําการไตสวนคดีบางประเภท แตเมื่อดําเนินการไตสวน
เสร็จทุกคดีจะตองไปรวมศูนยที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อชี้มูลและสั่งการทําใหคดีทุกประเภท
ตองรอการชี้มูลและสั่งการของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทั้งคดีเล็กนอยและคดีสําคัญ
๖๘ เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕