Page 76 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 76

´ØžÒË





                 คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจนํามารวมในสํานวนการไตสวนได ดังนั้น การสอบสวนคดีทุจริต

                 จึงมีความแตกตางจากการสอบสวนคดีอาญาโดยทั่วไป

                         ๑.๓  ขอเสนอแนะในการพัฒนาการสอบสวนในคดีคามนุษย และการไตสวนในคดี

                 ทุจริตคณะผูวิจัยไดจากการเก็บขอมูลภาคสนาม โดยการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิ การสนทนา
                 กลุมยอย  และการสัมมนาเผยแพรระดมความคิดเห็น  สรุปไดดังนี้

                         (๑) โครงสรางของระบบและการดําเนินการสอบสวน ควรมีการกระจายอํานาจ
                 ในการไตสวนเพื่อใหเกิดความรวดเร็ว และลดขั้นตอนภายในที่ซํ้าซอน ทํางานเชิงรุกใหมากขึ้น

                 สวนในคดีคามนุษยควรมีหนวยงานที่ชวยพนักงานสอบสวนในการทําคดี และควรขยายเวลา
                 ในการสอบสวนใหเพียงพอตอการรวบรวมพยานหลักฐานอยางครบถวน

                         (๒) ดานบุคลากร ในคดีทุจริตและประพฤติมิชอบควรสงเสริมพัฒนาองคความรู
                 แกเจาหนาที่อยางสมํ่าเสมอ สวนคดีคามนุษยควรมีการพัฒนาองคความรูแกเจาหนาที่

                 และเพิ่มอํานาจในการสืบสวนสอบสวนเปนพิเศษเชนเดียวกับพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ
                 รวมถึงการเนนใหพนักงานสอบสวนที่ทําหนาที่ในคดีคามนุษยใหมีความชํานาญและเชี่ยวชาญ

                 ไมโยกยายไปหนวยงานอื่นบอย
                         (๓)  ขอเสนอแนะอื่นๆ เพื่อทําใหการสอบสวนมีประสิทธิภาพมากขึ้น

                             ๓.๑)  คดีทุจริตและประพฤติมิชอบควรมีอํานาจเชนเดียวกับพนักงานสอบสวน
                 คดีพิเศษ และมีการประสานงานอยางเปนเอกภาพกับหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ ควรมีที่ปรึกษา

                 ในสํานวนการไตสวนซึ่งอาจเปนนักกฎหมายที่มีประสบการณมาเปนที่ปรึกษา

                             ๓.๒)  คดีคามนุษยควรมีความชัดเจนวาคดีใดควรเปนคดีคามนุษย ตามนิยาม
                 ของกฎหมาย และมีความชัดเจนในการแยกเหยื่อ ควรมีการประชุมรวมกันระหวางสหวิชาชีพ
                 กอนที่จะวางแผนชวยเหลือ และรัฐควรสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินการอยางเพียงพอ


                         ๑.๔  ผลสรุปจากการศึกษากฎหมายตางประเทศ ไดแก ฝรั่งเศส เยอรมัน อังกฤษ
                 และญี่ปุน พบวาในฝรั่งเศส เยอรมัน และญี่ปุน ดําเนินการสอบสวนตามระบบการดําเนิน

                 คดีอาญาโดยทั่วไป ไมไดแยกเปนหนวยงานสอบสวนพิเศษ สวนในอังกฤษก็เชนเดียวกัน

                 ไมไดมีหนวยงานที่กําหนดไวเปนพิเศษ เพียงแตในคดีคามนุษย ตํารวจอังกฤษเปนผูรับผิดชอบ
                 และมีการประสานงานกับพนักงานอัยการอยางใกลชิดและชัดเจน ในขณะที่คดีทุจริตมีหนวยงาน
                 The Serious Fraud Offi ce เปนผูสอบสวน แตการประสานงานกับพนักงานอัยการ

                 และหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของก็เปนไปในทํานองเดียวกับคดีคามนุษย





                 มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑                                                        ๖๕
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81