Page 33 - Q8 -
P. 33

32

                                    (4) ใหคณะกรรมการ/คณะทํางานรายงานผูบัญชาตามลําดับ กรณีมีปญหาตอง

                    ปรับปรุงแกไขตามขอรองเรียน ใหประชุมหรือหาแนวทางแกไขโดยดวน เมื่อมีการแกไขแลวตองติด
                    ประกาศใหทราบทั่วกัน
                                    (5)  กรณีใชแบบประเมินโดยวิธีใช QR Code ในแตละสวนงาน ตองมีการรวบรวม

                    ขอมูลเสนอผูบังคับบัญชาทราบตามลําดับ
                             ๗) การแจงศาลสูงทราบเกี่ยวกับการอานคําพิพากษาแลว
                             การปฏิบัติงานของงานสารบรรณคดี ตองดําเนินการแจงศาลสูงทันทีหรือภายในวันที่มี
                    การอานคําพิพากษาเพื่อใหศาลสูงทราบโดยเร็ว


                    4.๒ สวนหรือกลุมงานคลัง
                             สวนหรือกลุมงานคลังในศาลมีหนาที่สําคัญคือ การบริหารการเงินทั้งเงินงบประมาณ และ
                    เงินนอกงบประมาณ สําหรับการบริหารเงินงบประมาณนั้นแตละศาลมีเงินงบประมาณแบงเปน

                    ๓ ประเภท ไดแก
                             ๑) คาใชจายดานบริหารจัดการ
                             ๒) คาใชจายดานบุคลากร
                             ๓) คาใชดานลงทุน

                    สวนการบริหารเงินนอกงบประมาณนั้นแบงเปน ๓ ประเภท ไดแก
                             ๑) คาธรรมเนียมศาล รวมถึงคารับรองเอกสารตาง ๆ
                             ๒) คาปรับตามคําพิพากษาหรือคําสั่งศาล
                             ๓) เงินกลาง เชน เงินที่คูความมาวางชําระหนี้ตามคําสั่งศาลหรือขอตกลงระหวางคูความ

                    ในชั้นพิจารณา  เงินประกันตัว  เงินชดใชคาเสียหายแกผูเสียหายในคดีอาญา เงินคาสงคําคูความ
                    เงินวางคาประกาศหนังสือพิมพ
                             การบริหารเงินในงบประมาณและนอกงบประมาณมีหลักเกณฑที่แตกตางกัน ในสาระสําคัญ
                    ดังตอไปนี้

                             ๑) การรับเงินแตละประเภท
                             การรับเงินในงบประมาณ ศาลแตละแหงจะไดรับจัดสรรจากสํานักงานศาลยุติธรรมเปน
                    รายไตรมาส หากมีงบประมาณไมเพียงพอ เจาหนาที่เกี่ยวของตองเสนอคําของบประมาณใหหัวหนา

                    สวนราชการซึ่งหมายถึงผูพิพากษาหัวหนาศาลลงนามในคําขอรับจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม สงมายัง
                    สํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค ๒ เพื่อพิจารณา หากสํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค ๒ มีวงเงิน
                    งบประมาณสํารองเหลือ อธิบดีผูพิพากษาภาค ๒ จะเปนผูพิจารณาอนุมัติเพิ่มเติมใหศาลนั้น ๆ แตหาก
                    วงเงินงบประมาณสํารองไมเพียงพอ สํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค ๒ จะเสนอคําขอไปยังสํานักงาน
                    ศาลยุติธรรมเพื่อพิจารณาตอไป ดังนั้น หนาที่สําคัญของเจาหนาที่การเงิน ตองจัดทําทะเบียนคุมเงิน

                    งบประมาณ เพื่อใชเปนขอมูลในการประเมินวงเงินงบประมาณที่ไดรับจัดสรรวาเพียงพอตอการใชจาย
                    ในแตละไตรมาสหรือไม หากไมเพียงพอใหรีบดําเนินการเสนอหัวหนาสวนราชการมีคําขอเพิ่มเติมมา
                    โดยเร็ว
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38