Page 35 - Q8 -
P. 35

34

                    วาดวยการเงิน พ.ศ. 2545  แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551  ซึ่งมีหลักปฏิบัติใหเจาหนาที่ที่

                    เกี่ยวของสําคัญคือ การรับเงิน  การจายเงิน  การเก็บรักษาเงิน  การจายเงินยืม ซึ่งผูปฏิบัติควรศึกษา
                    กอนเริ่มปฏิบัติงาน
                             การตรวจราชการสวนหรือกลุมงานคลัง แบงการตรวจเปน ๔ ดาน ไดแก 1. ดานการเงิน

                    2. ดานการบัญชี 3. ดานการพัสดุ และ 4. ดานอาคารสถานที่ซึ่งรวมถึงการรักษาความปลอดภัยใน
                    บริเวณศาล ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้

                             4.๒.๑ ดานการเงิน

                             1) ตรวจสอบการจายเงินนอกเหนือจากเงินสดหรือเช็คผานระบบโอนเงิน Internet
                    Banking ของธนาคารที่สํานักงานศาลยุติธรรมไดทําความตกลงไว ตามหนังสือสํานักงานศาลยุติธรรมที่
                    ศย 012/ว 78 (ป) ลงวันที่ 12 กันยายน 2556
                             เพื่อใหการดําเนินการตามแนวทางของสํานักงานศาลยุติธรรมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

                    ลดความผิดพลาดในเรื่องเช็คคางจาย จึงสงเสริมใหมีการจายเงินผานระบบอิเล็กทรอนิกส โดยปจจุบัน
                    สํานักงานศาลยุติธรรมไดกําหนดใหศาลแตละแหงเปดบัญชีกับธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) เพื่อ
                    รองรับการจัดสรรเงินงบประมาณจากสํานักงานศาลยุติธรรม และเปดบัญชีกับธนาคารกรุงไทย จํากัด
                    (มหาชน) เพื่อรองรับการรับและโอนเงินนอกงบประมาณสําหรับคูความ ดังนั้น จึงมีประเด็นที่ผูตรวจ

                    ราชการตองตรวจสอบการรับและโอนเงินจากบัญชีเงินฝากของธนาคารดังกลาว โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                   (๑) ตรวจสอบระบบการจายเงินผานระบบ K-Cash           (ธนาคารกสิกรไทย)
                    วาการจายเงินใหเจาหนี้เพื่อชําระคาสินคา, (งบลงทุน, งบบริหารจัดการ) การจายเงินใหบุคคลภายนอก
                    เชน เงินรางวัลทนายความ, คาตอบแทนผูประนีประนอม  มีการดําเนินการผานระบบ K-Cash  แลว

                    หรือไม  หากไมมีใหแนะนําใหผูปฏิบัติดําเนินการ ตามแนวทางของสํานักงานศาลยุติธรรม
                                   (2) ตรวจสอบการจายเงินผานระบบ KTB Corporate Online วามีการจายเงินนอก
                    งบประมาณ ประเภทคาธรรมเนียมศาล คาปรับตามคําพิพากษาหรือคําสั่งศาล คาปรับผูประกัน
                    คาสงคําคูความ และงบประมาณกลาง เชน คารักษาพยาบาล คาเลาเรียนบุตร คาฌาปนกิจ ใหแก

                    คูความ สถาบันการเงิน ทนายความ หนวยงานราชการอื่นแลวหรือไม หากไมมี ใหแนะนําผูปฏิบัติ
                    ดําเนินการตามแนวทางหนังสือสํานักงานศาลยุติธรรมที่ ศย 012/ว 85 (ป) ลงวันที่ 26 เมษายน
                    2562  เรื่อง ซักซอมแนวปฏิบัติตามประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการการรับ

                    และการจายเงินนอกเหนือจากเงินสดและเช็ค พ.ศ. 2556
                                   (3) ตรวจสอบขอมูลหรือการใหบริการรับชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกสดวยเครื่อง EDC
                    (Electronic Data Capture) ของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ที่ไดรับจัดสรรมาใหศาลยุติธรรมวา
                    ไดดําเนินการรับชําระเงินจากคูความ ทนายความ ประชาชนทั่วไปดวยเครื่อง EDC  แลวหรือไม  หากไมมี
                    การใชใหสงเสริมใหมีการประชาสัมพันธแกประชาชนทั่วไปทราบ ตามหนังสือเวียนสํานักงาน

                    ศาลยุติธรรมที่ ศย 012/ว 30 (ป) ลงวันที่ 10 มิถุนายน 2552
                             ๒) ตรวจสอบการรายงานผลการนําสงเงินกลางคางจายเกิน 5 ป (รายป) จากหนังสือนําสง
                    เงินกลางคางจายเกิน ๕ ป ณ สิ้นปงบประมาณนั้น ๆ ที่ศาลแตละแหงมีถึงสํานักงานศาลยุติธรรม

                    วามีการรายงานผลการนําสงภายในเดือนมีนาคมของปงบประมาณถัดไปหรือไม หากมีใหตรวจสอบ
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40