Page 37 - Q8 -
P. 37

36

                    หากพบวาแตกตางเกินกวา 3 วันทําการ ใหผูตรวจแนะนําเจาหนาที่ผูรับผิดชอบถือปฏิบัติอยางเครงครัด

                    และบันทึกไวในผลการตรวจเพื่อติดตามการปฏิบัติเปนระยะ ๆ
                                   (๔) มีการนําสงเงินคาธรรมเนียมศาลหรือเงินคาปรับผูประกันเพื่อเสริมเงิน
                    งบประมาณ ในแตละเดือนถูกตอง ไมมีการแกไขขอมูล โดยผูตรวจสามารถตรวจสอบความถูกตองจาก

                    ทะเบียนคุมเงินคาธรรมเนียมศาลเพื่อเสริมเงินงบประมาณ (ทศ.3) เปรียบเทียบกับหนังสือนําสงเงิน
                    คาธรรมเนียมศาลหรือเงินคาปรับผูประกันเพื่อเสริมเงินงบประมาณวามียอดเงินถูกตองตรงกันหรือไม
                                   หากพบวาไมตรงกัน ใหตรวจสอบการบันทึกบัญชีเพื่อหาผลแตกตางกันและปรับปรุง
                    บัญชีใหถูกตองกอนนําสงเงินใหสํานักงานศาลยุติธรรม ซึ่งโดยปกติแลว สํานักการคลังจะตรวจสอบ

                    เปรียบเทียบยอดเงินนี้ทุกครั้งที่มีการรายงานอยูเปนประจําอยูแลว
                             ๔) ตรวจสอบการจัดทําทะเบียนเงินกลาง ตามหนังสือสํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 2
                    ที่ ศย 302.001/ว 99 ลงวันที่ 8 ตุลาคม 2561
                             ทะเบียนเงินกลาง หมายถึง บันทึกทะเบียนที่ควบคุมการรับเงินกลาง ประเภทตาง ๆ ไวทุก

                    ครั้งที่มีการรับเงินนั้นไว โดยอธิบดีผูพิพากษาภาค ๒ กําหนดใหแตละศาลจัดทําทะเบียนเงินกลางไว
                    ๒ ประเภท ไดแก  1) ทะเบียนเงินรับฝากคาสงคําคูความ  2) ทะเบียนเงินกลางอื่น เชน เงินวางชําระ
                    หนี้, สินบน, เงินประกันตัว, คาประกาศหนังสือพิมพ
                             ใหผูตรวจราชการดําเนินการตรวจสอบทะเบียนเงินกลางดังกลาววา แตละศาลมีการจัดทําไว

                    ครบถวนตามรายงานชําระเงินประจําวันหรือไม หากยังไมไดจัดทําใหแนะนําใหจัดทํา  หากมีการจัดทํา
                    ไวแลว ใหผูตรวจราชการตรวจสอบรายละเอียดที่บันทึกไวในทะเบียนเงินกลางเปรียบเทียบกับ
                    ใบเสร็จรับเงิน (รจ.01) วา รายการที่บันทึกไวกับใบเสร็จรับเงินตรงกันหรือไม  หากพบวารายการใด
                    ไมตรงกัน ใหผูตรวจราชการแจงใหศาลดําเนินการใหถูกตองครบถวน แลวรายงานมายังสํานักงานอธิบดี

                    ผูพิพากษาภาค ๒ ทราบ หลังจากไดรับคําแนะนําภายใน 30 วัน
                             ผูตรวจราชการอาจนํารายงานเงินรับฝากคําคูความประจําเดือนที่ศาลแตละแหงสงมายัง
                    สํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค ๒ ไปดวยเพื่อตรวจสอบเปรียบเทียบกับทะเบียนเงินกลางทั้งสอง
                    ประเภทดังกลาวที่เก็บไวที่ศาลแตละแหงวา ถูกตองตรงกันที่ศาลแตละแหงรายงานประจําเดือนมาหรือไม

                    หากไมตรง ใหบันทึกเหตุผลและยอดเงินดังกลาวไว และใหผูตรวจแนะนําใหหัวหนาสวนราชการรายงาน
                    ไปยังสํานักงานศาลยุติธรรมเพื่อพิจารณาตอไป ซึ่งสํานักงานศาลยุติธรรมอาจพิจารณาพักยอดจํานวนที่
                    ตรวจพบความคลาดเคลื่อนไวชั่วคราว เพื่อตรวจหาสาเหตุที่แทจริงหรือผูรับผิดชอบตอไป

                             ๕) ตรวจการจายคืนเงินใหแกคูความตามกรอบระยะเวลามาตรฐาน
                             เนื่องดวยสํานักงานศาลยุติธรรมไดกําหนดแนวทางการจายคืนเงินในคดีใหแกคูความโดยให
                    ศาลเรงรัดการเบิกจายเงินแกคูความโดยเร็ว ทั้งนื้ไมเกิน 10 วันทําการ นับแตวันที่ศาลไดรับคํารอง
                    จนถึงวันที่ลงนามในเช็ค หรือโอนเงินในระบบสําเร็จ เวนแตมีเหตุจําเปนใหเสนอหัวหนาสวนราชการ
                    พิจารณาสั่งเปนรายกรณี ตามหนังสือศาลยุติธรรมที่ ศย 025/ว 7 (ป) ลงวันที่ 15 มกราคม 2562

                    เรื่องแนวทางการจายคืนเงินคาธรรมเนียมศาล เงินคาปรับ และเงินกลาง ในคดีใหแกคูความ
                             การตรวจตามประเด็นนี้ใหผูตรวจราชการเรียกตรวจบันทึกขออนุมัติจายคืนเงินพรอม
                    เอกสารประกอบ เชน ใบคํารอง ใบรับเงิน เอกสารการโอนเงิน หรือเช็ค วาระยะเวลานับแตศาลไดรับ

                    คํารองจนถึงวันที่ลงนามในเช็ค หรือโอนเงินในระบบสําเร็จเกินกวา 10 วันทําการหรือไม หากเกิน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42