Page 34 - Q8 -
P. 34

33

                             สําหรับการรับเงินนอกงบประมาณนั้นเปนการรับเงินจากคูความ ประชาชน และทนายความ

                    ที่นํามาวางหรือมาชําระตอศาล ซึ่งการบริหารเงินนอกงบประมาณนี้ จะใชวิธีการที่แตกตางกันไป
                    ตามแตละประเภทเงิน เชน เงินคาธรรมเนียมศาลในแตละเดือน เจาหนาที่ผูเกี่ยวของตองจัดทําทะเบียน
                    คุมเงินคาธรรมเนียมศาลเพื่อเสริมเงินงบประมาณในแตละเดือน และนําเงินรอยละ ๕๐ ของเงิน

                    คาธรรมเนียมศาลสงใหสํานักงานศาลยุติธรรมทุกเดือน สวนอีกรอยละ ๕๐ ใหนําสงเปนรายไดแผนดิน
                    เวนแตมีเหตุจําเปนที่ตองกันเงินคาธรรมเนียมศาลไวมากกวารอยละ ๕๐ เพื่อจายคืนใหแกคูความ
                    ผูมีสิทธิรับเงิน ในกรณีที่ศาลมีคําสั่งใหคืนเงินดังกลาวแกคูความ หากศาลใดมีเงินคาธรรมเนียมศาล
                    คงเหลือไมเพียงพอตอการคืนแกคูความ เจาหนาที่ที่เกี่ยวของตองประสานไปยังศาลอื่นในภาค เพื่อขอ

                    ใชเงินคาธรรมเนียมศาลของศาลอื่น มาชําระแกคูความแทน โดยขออนุมัติมายังสํานักงานอธิบดี
                    ผูพิพากษาภาค ๒ ในการนําสงเงินแกสํานักงานศาลยุติธรรมนั้น ตองโอนเงินใหสํานักงานศาลยุติธรรม
                    ภายใน ๓ วันทําการ นับแตวันสิ้นเดือน ตามหนังสือ ศย 012/ว 571 ลงวันที่ 4 กันยายน 2560
                    เรื่อง ซักซอมการนําสงเงินคาธรรมเนียมศาลเพื่อเสริมเงินงบประมาณ และคาปรับผูประกันเพื่อเสริมเงิน

                    งบประมาณ
                             ๒) การบริหารเงินแตละประเภท
                             การบริหารเงินนอกงบประมาณประเภทคาปรับ ซึ่งรับมาจากจําเลยที่ศาลมีคําพิพากษา
                    ใหชําระคาปรับ เจาหนาที่ที่เกี่ยวของตองจัดทําทะเบียนคุมเงินคาปรับสรุปในแตละวัน ใหถูกตองตาม

                    คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาล หลังจากนั้นใหดําเนินการเชนเดียวกันการจัดการเงินคาธรรมเนียมศาล
                    หากในเดือนใด หากศาลใดไมมีการรับเงินคาปรับในเดือนนั้น ๆ เลย ใหรายงานมายังสํานักงานอธิบดี
                    ผูพิพากษาภาค ๒ เพื่อรวบรวมสงไปยังสํานักงานศาลยุติธรรมตอไป
                             สวนเงินคาคัดถายและคารับรองเอกสารผานระบบขอมูลคดีศาลยุติธรรม (CIOS)  ให

                    เจาหนาที่ที่เกี่ยวของจัดทําทะเบียนคุมการรับเงินผานระบบแยกตางหากจากการรับเงินคาธรรมเนียม
                    ศาลทั่วไป เพื่อประกอบการนําสงรายไดแผนดินและการตรวจสอบจากสํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค
                             เงินกลาง ประเภทการวางประกันการชําระหนี้ เงินวางประกันตัวผูตองหาหรือจําเลย
                    เงินชําระหนี้แกผูเสียหาย ใหบันทึกการรับเงินลงในทะเบียนเงินกลางทุกวัน เพื่อรอใหคูความผูมีสิทธิมา

                    ขอรับเงินคืน หรือเพื่อหักชําระคาปรับนายประกันกรณีผิดสัญญาประกัน
                             สวนเงินกลางประเภทคาสงคําคูความ เจาหนาที่เกี่ยวของตองจัดทําทะเบียนคุมสําหรับ
                    การสงคําคูความแยกตางหากจากเงินกลางประเภทอื่นและบันทึกไวทุกวันเชนเดียวกัน เพื่อความสะดวก

                    ในการตรวจสอบและเบิกจายแกผูสงหมาย หรือเบิกคืนคูความตามคําสั่งศาล
                             การบริหารจัดการเงินกลางเมื่อสิ้นปงบประมาณ ผูอํานวยการประจําศาลแตละแหง
                    ตองสํารวจทะเบียนคุมเงินกลางแตประเภทวามีเงินกลางคางจายตามประมวลกฏหมายวิธีพิจารณาความ
                    แพง มาตรา 345 หรือเช็คเงินกลางคางจายหรือไม หากมีตองนําสงเปนรายไดแผนดิน และรายงานให
                    สํานักงานศาลยุติธรรมทราบภายในเดือนธันวาคมของปงบประมาณถัดไป ตามระเบียบคณะ

                    กรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยคาธรรมเนียมศาล เงินคาปรับ และเงินกลาง (ฉบับที่ 3)
                    พ.ศ. 2562
                             การบริหารเงินในงบประมาณตองปฏิบัติตามระเบียบตามระเบียบคณะกรรมการบริหาร

                    ศาลยุติธรรม วาดวยการงบประมาณ พ.ศ. 2544 และระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39