Page 88 - องค์ความรู้ อาหารและโภชนาการสำหรับพระสงฆ์
P. 88
ั
ุ
่
ุ
3.4 สขลกษณะสวนบคคล
ผ
ู้ประกอบกิจการ ผู้สัมผัสอาหารต้องมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่เจ็บป่วย
ด้วยโรคท่สามารถติดต่อไปยังผู้บริโภค โดยมีนาและอาหารเป็นส่อ เช่น
ี
้
�
ื
อหิวาตกโรค บิด ไข้สุกใส ไวรัสตับอักเสบเอ ฯลฯ (กฎกระทรวงสุขลักษณะ
ของสถานที่จ�าหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561)
องรกษาความสะอาดของร่างกายอย่างสมาเสมอ สวมใส่เส้อผ้าท่สะอาด
ื
่
ี
ต้
ั
�
สวมเสื้อมีแขน ผ้ากันเปื้อน และหมวกคลุมผม
ล้างมือทุกคร้งก่อนทาการปรุงประกอบอาหาร รวมท้งต้องตัดเล็บสั้น ไม่ทาสีเล็บ
�
ั
ั
และดูแลเล็บให้สะอาดอยู่เสมอ
ใ
ช้อุปกรณ์หยิบจับอาหารที่ปรุงเสร็จแล้ว เช่น ใช้ช้อนตัก หรือที่คีบอาหาร
ไม่สวมใส่เครื่องประดับ เช่น ต่างหู แหวน สร้อยข้อมือ ฯลฯ ขณะปรุงอาหาร
ั
3.5 การจดการแมลงและสตว์นาโรค
�
ั
ในการปรุงประกอบอาหาร มูลฝอยท่เกิดข้นส่วนใหญ่จะเป็นเศษอาหาร
ึ
ี
ั
ซ่งจะเป็นแหล่งอาหารของสัตว์และแมลงต่างๆ ได้ ดังน้นการป้องกันสัตว์และ
ึ
แมลงน�าโรคที่ดีที่สุดคือการจัดการเศษอาหารไม่ให้เหลือตกค้างภายในครัว
บริเวณวัดจะมีสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข แมว จ�านวนมาก ดังนั้นควรมีการป้องกัน
ี
สัตว์เล้ยงไม่ให้เข้าไปบริเวณครัวปรุงประกอบอาหาร และควรมีการป้องกัน
โรคที่อาจเกิดจากสัตว์เลี้ยงภายในวัดโดยการฉีดวัคซีน
88 องคความร้ อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชน
ู
องค
้
ความร
าการ
์
์
ู
บพระสงฆ
ั
และฆราวาส
์
หร
า
�
ส
ส�าหรับพระสงฆ์และฆราวาส