Page 85 - องค์ความรู้ อาหารและโภชนาการสำหรับพระสงฆ์
P. 85
ุ
ู
้
2. ประกอบดวย เมนูชสขภาพ
ั
�
ี
เมนูชูสุขภาพ คือ อาหารไทยท้งประเภทจานเดียวหรือสารับท่ปรุงจากอาหารอย่างน้อยครบ
4 หมู่ (ถ้าเพิ่มผลไม้จะครบ 5 หมู่) มีปริมาณไขมันไม่เกินร้อยละ 30 ของการกระจายตัวของพลังงาน
ในอาหารทั้งหมด ปรุงจากวัตถุดิบที่สด ปลอดภัยจากสารพิษ มีรสไม่เค็มและหวานจัด
ั
ั
ลกษณะท่วไปของเมนูชสขภาพ
ุ
ู
เน้นการปรุงประกอบอาหารด้วยวิธีการต้ม ปิ้ง นึ่ง ย่าง ย�า อบ และท�าเป็นน�้าพริก
เน้นประกอบอาหารจากเนื้อปลา ไก่ ไข่ และเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน
ไม่มันจัด ไม่เค็มจัด ไม่หวานจัด ปรุงประกอบอาหารลดหวาน มัน เค็ม
ผัดและแกงกะทิจะต้องใช้น�้ามันและกะทิแต่พอควร
ลดของทอด อาหารแปรรูป อาหารหมักดอง ขนมหวาน
เพิ่มผัก ผลไม้รสไม่หวานจัด
เลือกน�้าเปล่า นม นมจากธัญพืช รสจืดหรือรสหวานน้อย
เลือกวัตถุดิบที่สด สะอาด ปลอดสารเคมี
3. คานงถงหลกสขาภบาลอาหาร
ุ
ั
�
ึ
ิ
ึ
่
3.1. สขลกษณะของสถานทปรุง ประกอบอาหารในวัด (โรงครัว)
ุ
ี
ั
ต้องสะอาด มีสภาพมั่นคงแข็งแรง พื้น ผนัง เพดาน ต้องก่อสร้างด้วยวัสดุที่
คงทน เรียบ ท�าความสะอาดง่าย
มีการระบายอากาศที่ดี หรือมีพัดลมดูดอากาศ หรือมีปล่องระบายควัน
มีแสงสว่างบริเวณที่ปรุง ประกอบอาหารที่เพียงพอและเหมาะสม
โต๊ะเตรียมปรุงประกอบอาหารต้องทาด้วยวัสดุท่เรียบ ทาความสะอาดง่าย
�
�
ี
เช่น สเตนเลส กระเบื้อง และการปรุงอาหารต้องท�าสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม.
มีท่อหรือรางระบายน�้าที่มีสภาพดี ไม่แตกร้าว
มีการติดตั้งถังดักไขมัน
้
ั
ั
ั
้
ิ
ุ
ื
ี
ั
้
ื
์
ื
่
ค
วรมอปกรณหรอเครองมอสาหรบปองกนอคคภยจากการใชเชอเพลงในการปรง
ุ
ี
ื
�
ู
ี
ู
ประกอบอาหาร และผ้ปรงประกอบอาหารต้องมความร้และสามารถใช้
ุ
อุปกรณ์หรือเครื่องมือส�าหรับป้องกันอัคคีภัยได้
ุุ่่มส่งเสริมโภชนาการวัยท�างานและผู้สูงอาย
กลมส่งเสริมโภชนาการวัยทางานและผ้สงอายุุ 85
กล
ู
ู
�
� ส�านักโภชนาการ กรมอนามัย
ั
สานกโภชนาการ กรมอนามย
ั