Page 96 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 96

กำรลงทุนในโครงสร้ำงพื้นฐำนเพื่อรัฐบำลดิจิทัล ไม่แตกต่ำงจำกกำรสร้ำงถนน หรือกำร
                เชื่อมโยงทำงกำยภำพ เช่น สนำมบิน หรือท่ำเรือ เพรำะจะเป็นกำรสร้ำงงำนในอนำคตให้กับเอกชน
                โดยเฉพำะธุรกิจบริกำร ไม่ว่ำจะเป็นกำรให้บริกำรกับรัฐหรือต่อยอดไปให้บริกำรกับประชำชน โดย

                ไม่จ�ำเป็นต้องใช้รูปแบบสัมปทำนหรือกำรอนุญำตในทุกกรณี กำรลดหรือหลีกเลี่ยงรูปแบบสัมปทำน
                อำจจะท�ำให้กำรค�ำนวณผลตอบแทนสำมำรถมองไปถึงผลตอบแทนในแง่รำยได้จำกภำษีอำกร
                ที่สำมำรถเก็บเพิ่มขึ้นได้จำกฐำนที่กว้ำงขึ้น หรือรูปแบบกำรจัดเก็บหรือประเภทภำษีใหม่ หรือแม้กระทั่ง
                ประโยชน์ที่ได้รับจำกกำรพัฒนำทุนมนุษย์จำกอำชีพใหม่ ๆ รวมถึงโอกำสของกำรสร้ำงธุรกิจใหม่ของ

                เอกชนบนกำรแข่งขันที่เท่ำเทียมและหลำกหลำยมำกขึ้น
                       การใช้ประโยชน์จากด้ิจิทัลเพื�อส่งเสริมความโปร่งใสและลด้ปัญหาการทุจริต กำรปรับ

                กระบวนกำรท�ำงำนด้วยดิจิทัลให้แก่ภำครัฐน�ำมำซึ่ึ่งควำมเชื่อมโยงกับกิจกรรมทำงเศรษฐกิจกับเอกชน
                ท�ำให้กำรตรวจสอบ ติดตำม ประเมินผล รวมถึงลดโอกำสในกำรทุจริต เพรำะระบบงำนดิจิทัลมีกำร
                บันทึกเพื่อกำรตรวจสอบย้อนกลับได้ทุกจุด (Traceability with Digital Footprint) ลดขั้นตอนกำร
                อนุญำต และภำระงำนของเจ้ำหน้ำที่รัฐ ตัวอย่ำงที่ชัดเจนจำกกำรตรวจสอบข้อมูลธุรกรรมทำงกำรเงิน

                ในปัจจุบัน ระบบดิจิทัลจะช่วยท�ำให้กำรท�ำงำนของหน่วยงำนรัฐทั่วไปมีควำมรัดกุมและระมัดระวังได้
                มำกขึ้น คุ้มครองเจ้ำหน้ำที่ในกำรปฏิบัติหน้ำที่โดยชอบด้วยกำรมีพยำนหลักฐำนทำงอิเล็กทรอนิกส์
                ในทำงกลับกัน กำรมีพยำนหลักฐำนทำงอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่ำวจะป้องปรำมหรือลดแรงจูงใจที่จะ
                ปฏิบัติหน้ำที่โดยมิชอบ ตรวจสอบหรือป้องกันกำรทุจริตท�ำได้ง่ำยและสะดวกขึ้น รวมถึงอำจจะท�ำให้

                มีประสิทธิภำพจนถึงขนำดที่จะลดขนำดองค์กรหรือจ�ำนวนบุคลำกรในองค์กรที่มีหน้ำที่ป้องปรำมหรือ
                ป้องกันกำรกระท�ำทุจริตที่มีอยู่ได้ในอนำคต ซึ่ึ่งควรเป็นเป้ำหมำยส�ำคัญส่วนหนึ่งของกำรมีรัฐบำลดิจิทัล
                เพรำะกำรมีปริมำณงำนหรือกรณีทุจริตจ�ำนวนมำกรวมถึงหน่วยงำนที่มีหน้ำที่และควำมรับผิดชอบ
                ด้ำนนี้ จะสะท้อนไปยังภำพลักษณ์ด้ำนธรรมำภิบำลของประเทศโดยตรง

                         แนวคิดรัฐบำลในฐำนะของแพลตฟอร์มจึงเป็นกำรปรับเปลี่ยนครั้งส�ำคัญในกำรปฏิรูป

                บทบำทของรัฐในอนำคต ด้วยแรงผลักดันของดิจิทัลเทคโนโลยี กรอบแนวคิดของ OEDC จึงเป็น
                แนวทำงอันหนึ่งที่ประเทศไทยอำจจะใช้กรอบนี้ในกำรวัดผลกำรปรับเปลี่ยนตัวเอง เพื่อติดตำม
                ควำมคืบหน้ำและวัดผลสัมฤทธิ�ในเรื่องนี้ ซึ่ึ่งแผนภำพต่อไปนี้แสดงให้เห็นกรอบแนวคิดของรัฐบำล
                ดิจิทัล ที่ OECD เสนอ























           94     ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2566 - 2570)
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101