Page 100 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 100
สอดคล้องกับนโยบำย เป็นไปในลักษณะ Evidence-based มำกกว่ำเพียงกำรรับฟังควำมเห็น
และรวบรวมมำเป็นหลัก กำรพึ่งพิงบทบำทของสถำบันกำรศึกษำในกำรผลิตบัณฑ์ิตที่มีควำมรู้
และทักษะเพื่องำนเหล่ำนี้ กำรเข้ำมำท�ำหน้ำที่ที่ปรึกษำเพื่อกำรวิเครำะห์ บทบำทภำคเอกชนหรือองค์กร
ธุรกิจที่จะให้ควำมเห็นในลักษณะที่เป็น Evidence-based เช่นเดียวกัน
5.3 รัฐต้องมีรายได้และการใช้จ่ายที่เหมาะสม
1. กรอบความคิดเรื่องการแสวงหารายได้
รำยได้ของรัฐจำกภำษีอำกรถือเป็นแหล่งรำยได้หลักของรัฐ ในกรณีของประเทศไทย ภำษี
ทำงอ้อม เช่น ภำษีมูลค่ำเพิ่ม (Value Added Tax: VAT) ถือเป็นสัดส่วนที่มำกกว่ำภำษีทำงตรง
เช่น ภำษีเงินได้จำกบุคคลธรรมดำและนิติบุคคล จำกรำยงำนควำมเสี่ยงปี 2562 ฉบับสมบูรณ์
ของส�ำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง ปรำกฏข้อมูลถึงกำรพึ่งพิงภำษีจำกฐำนบริโภคในสัดส่วนสูงกว่ำรำยได้
จนมีช่องว่ำงที่เพิ่มขึ้นในระยะหลังและสะท้อนเป็นควำมเสี่ยง ตำมแผนภำพต่อไปนี้
ภำพที่ 5-4 สัดส่วนกำรจัดเก็บภำษีจำกฐำนบริโภคกับฐำนรำยได้
ล้ำนบำท
1,400,000 1.60
1.32 1.38 1.34
1,200,000 1.23 1.40
1.08 1.14 1.20
1,000,000 0.98 1.02
1.00
800,000
0.80
600,000
0.60
400,000 0.40
200,000 852,749 834,516 863,268 876,359 943,208 1,015,056 881,591 1,004,738 895,205 1,101,804 894,058 1,178,227 893,754 1,235,392 975,030 1,301,673 0.20
- 0.00
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561
ฐำนรำยได้ ฐำนบริโภค สัดส่วนฐำนบริโภคต่อฐำนรำยได้
ที่มำ: ส�ำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง, “รำยงำนควำมเสี่ยงทำงกำรคลัง ประจ�ำปีงบประมำณ 2562”, 2563.
98 ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2566 - 2570)