Page 23 - คู่มือนิเทศการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
P. 23

19



                   กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร


                               สิ่งที่ผู้สอนต้องท าการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
                                                                                                       ่
                       ื้
                               ุ
                   ขั้นพนฐาน พทธศักราช 2551 คือ (1) ผลการเรียนรู้ใน 8 กลุ่มสาระ (2) ผลการเรียนรู้ด้านการอาน
                                                                      ึ
                                                                   ั
                   คิดวิเคราะห์และเขียน (3) ผลการเรียนรู้ด้านคุณลักษณะอนพงประสงค์ที่ก าหนดไว้ในหลักสูตรอย่างน้อย
                   8 ประการ และ (4) ผลการเรียนรู้ที่เกิดจากกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
                            ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร 4  ประการดังกล่าวข้างต้น มีที่มาจากองค์ประกอบ 3 ด้านคือ ด้าน

                     ุ
                         ิ
                                                       ิ
                   พทธิพสัย ด้านจิตพสัย และด้านทักษะพสัย โดยทั้ง 3 ด้านมีลักษณะส าคัญที่สามารถน ามาอธิบาย
                                    ิ
                   โดยสังเขป(ส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา,  กระทรวงศึกษาการ,  2551, หน้า 74-75) ดังนี้คือ
                            1.ผลการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย
                                                     ิ
                                                ุ
                              ผลการเรียนรู้ด้านพทธิพสัย หมายถึง ข้อมูล สารสนเทศ หลักฐานต่างๆ ที่แสดงถึง
                   ความสามารถด้านสติปัญญา 6 ด้าน คือ ความจ า ความเข้าใจ การประยุกต์ใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า
                                                                                       ิ
                   และการคิดสร้างสรรค์ โดยพฤติกรรมที่สะท้อนว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้านพทธิพสัย ได้แก่ การบอกเล่า
                                                                                   ุ
                   อธิบาย หรือเขียนแสดงความคิดรวบยอดโดยการตอบค าถาม เขียนแผนภูมิ แผนภาพ น าเสนอแนวคิด
                   ขั้นตอนในการแก้ปัญหา การจัดการ การออกแบบประดิษฐ์หรือสร้างสรรค์ชิ้นงาน เป็นต้น

                            2.ผลการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย
                              ผลการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย หมายถึง ข้อมูล สารสนเทศที่สะท้อนความสามารถด้านการเรียนรู้

                                     ์
                   ในการจัดการอารมณ ความรู้สึก ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมและเจตคติ โดยพฤติกรรมที่สะท้อนว่าผู้เรียน
                   สามารถเกิดการเรียนรู้ด้านจิตพสัย คือ ผู้เรียนมีการแสดงอารมณ์ ความรู้สึกในสถานการณ์ต่างๆ อย่าง
                                              ิ
                                                                                                     ื้
                   เหมาะสมตามบรรทัดฐานของสังคม มีความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมและมีค่านิยมพนฐาน
                                                                               ึ
                   ที่ได้รับการปลูกฝังโดยแสดงพฤติกรรมที่สะท้อนให้เห็นคุณลักษณะที่พงประสงค์อย่างน้อย 8 ประการ
                   ตามหลักสูตร
                          3.ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย

                                                   ิ
                            ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพสัย หมายถึง ข้อมูล สารสนเทศที่แสดงถึงทักษะการปฏิบัติงาน
                   เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกาย ที่เกิดจากการประสานงานของสมองและ
                   กล้ามเนื้อ ที่ใช้งานอย่างคล่องแคล่วประสานสัมพันธ์กัน

                            ผลการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้านที่เกิดขึ้นจากการพฒนาในกระบวนการจัดการเรียนการสอนตาม
                                                                 ั
                                                                                                     ั
                   หลักสูตรและกิจกรรมเสริมหลักสูตร ตลอดจนประสบการณ์ต่างๆ ในชีวิตจริงที่ผู้เรียนได้รับการพฒนา
                                                                                           ั
                                               ั
                   เป็นผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นพร้อมกบการเจริญเติบโตในแต่ละช่วงวัยของผู้เรียน ซึ่งเป็นพฒนาการที่ครูต้อง
                                                                         ื่
                   แสวงหาหรือคิดค้นเทคนิค วิธีการและเครื่องมือต่างๆ เพอใช้วัดและประเมินผลโดยค านึงถึง
                                                                                                      ั
                   ความสอดคล้องและเหมาะสม เพอให้ได้ผลการวัดและประเมินที่มีคุณภาพ สามารถน าไปใช้ในการพฒนา
                                               ื่
                   ผู้เรียนและกระบวนการจัดการเรียนการสอนของครูได้อย่างแท้จริง
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28