Page 277 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 277
โพนนางทุม บารายสระแก
อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
ชลประทานเชื่อมล�าเสียวใหญ่-ล�าพลับพลา
บริเวณทุ่งกุลาร้องไห้ ระหว่างล�าพลับพลาและล�าเสียวใหญ่ ภูมิประเทศเป็นที่ราบกว้าง
เชื่อมต่อถึงกัน มีความสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ ๑๒๐ - ๑๒๗ เมตร เป็นที่ราบลานตะพัก
ช่วงแม่น�้ามูลที่กัดลึกลง และรองรับด้วยชั้นหินตะกอนชุดหินมหาสารคามที่มีหินเกลือแทรก
เป็นชั้นหนาอยู่ในระดับตื้น สูงจากบริเวณระดับน�้าท่วมถึงซึ่งกว้างและยาวตามแม่น�้ามูล บางแห่ง
กว้างจรดสองฝั่งแม่น�้ามูลถึง ๘ กิโลเมตร ในฤดูน�้าหลากมีน�้าท่วมไหลแรง ในอดีตไม่พบหลักฐาน
การสร้างบ้านเมืองในบริเวณนี้ การตั้งถิ่นฐานพบเฉพาะบนที่ราบลานตะพักดังกล่าว สร้างบ้านเรือน
อยู่อาศัยบนเนินแยกจากกันเป็นแห่ง ๆ กระจายอยู่ทั่วไปในที่ราบลานตะพัก และท�านาแบบนาเหมือง
นาฝายในพื้นที่ราบโดยรอบ มีคูคลองเชื่อมต่อถึงกันเป็นพื้นที่กว้าง คลุมบริเวณที่ราบลานตะพัก
ต่อเนื่องระหว่างทางน�้าล�าพลับพลาและล�าเสียวใหญ่ มีเนินและที่ราบลุ่มเกิดจากการละลายของเกลือ
N
ซึ่งพัฒนาต่อเนื่องเป็นร่องน�้า และเป็นเส้นทางระบายน�้าบนที่ราบลานตะพักใช้ประโยชน์เป็นที่ราบ
ท�านา โดยธรรมชาติล�าน�้าดังกล่าวท�าหน้าที่ระบายน�้าจากตะวันตกไปตะวันออกลงสู่แม่น�้ามูล
15 ํ 33’ N 500 m. ในฤดูน�้าหลากจะมีน�้าท่วมขังทั่วบริเวณบนที่ราบลานตะพัก ในฤดูแล้ง น�้าแห้งมีเกลือขึ้นขาวทั่วไป
103 ํ 39’ E © GISTDA_2013
เป็นพื้นที่ตัวอย่างการบริหารจัดการน�้าในทุ่งกุลาร้องไห้ที่เห็นได้เด่นชัดในภาพจากดาวเทียม
สระแก ในบริเวณที่ราบลานตะพักรองรับด้วยชั้นหินเกลือระดับตื้นดังกล่าว พบหลักฐานการ
อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งถิ่นฐานมีก�าแพงเมือง-คูเมือง คูคลองชลประทาน และบารายอยู่ทั่วไป มีคลองเชื่อมต่อถึงกัน
เป็นเครือข่ายทั่วทั้งบริเวณ ที่ตั้งชุมชนมีก�าแพงเมือง-คูเมืองที่เป็นคันดินล้อมรอบ ท�าหน้าที่กักเก็บ
และยกระดับน�้าเพื่อระบายต่อไปในแปลงนา และระบายลงสู่คลองชลประทานที่เชื่อมต่อระหว่าง
ชุมชนในแนวตะวันตกตะวันออกคู่ขนานไปกับล�าน�้าเสียวใหญ่ และล�าพลับพลา และมีแนวคลอง
เชื่อมในแนวเหนือ-ใต้ระหว่างชุมชนตั้งอยู่บนฝั่งแม่น�้า ที่ “เมืองโพนนำงทุม” มีเขื่อนกั้นล�าน�้าเสียว
ใหญ่ทางทิศเหนือ และที่ “เมืองโพนแท่น” มีเขื่อนกั้นล�าพลับพลาทางทิศใต้
ภูมิปัญญาจัดการน�้าที่ “บำรำยสระแก” ตั้งอยู่ระหว่างเมืองทั้งสองมีแนวคลองเชื่อมต่อ
ถึงกันและรอบทิศ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือถึงเมืองบัว ทางตะวันออกเฉียงใต้ถึงเมืองตาหยวก
“บารายสระแก” ตั้งอยู่ที่ต�าแหน่งตกท้องช้างมีระดับต�่ากว่า ใกล้เคียงกับระดับเมืองที่ล�าเสียวใหญ่
และที่ล�าพลับพลา คันดินสร้างขึ้นสูงล้อมรอบบริเวณให้สามารถยกระดับน�้าระบายออกไปได้
ทุกทิศทาง เมื่อมีระดับน�้าสูงกว่าล�าน�้าใด บารายก็จะรับน�้าจากคลองนั้น แล้วระบายน�้าออกไปตาม
N
แนวคลองที่มีระดับต�่ากว่า เฉลี่ยน�้าถึงกันได้ตลอดทุกฤดูกาล
15 ํ 31’ N 200 m.
103 ํ 38’ E © GISTDA_2011
โพนแท่น
อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
aray Sakae
Waterway connected
‘Lum Siao Yai’- Lum Phlub Phla
“Baray Sakae” was located between two porches connected by two canals.
It was at almost the same level as the town where Lumsiao Yai and
Lum Phlab Phla were situated. An earth bed was built around ‘Baray’
N in order to raise the water level and thereby enabled it to drain in all directions.
When the water level in any canal was higher than the rest, the ‘baray’ would take
it from that particular canal and release it into a lower canal. This way,
15 ํ 26’ N 500 m.
103 ํ 36’ E © GISTDA_2011 water would be distributed equally into each canal in all seasons.
l 263 263