Page 272 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 272
“ทุ่งกุลาร้องไห้”
ดินแดนแห่งอารยธรรม
“ทุ่งกุลาร้องไห้” ชื่อท้องถิ่นอีสาน หมายถึงบริเวณ ทุ่งกุลาร้องไห้มีขึ้นเพื่อขอความช่วยเหลือจากต่าง
ที่ราบกว้างขวาง คลุมพื้นที่ต่อเนื่องที่ราบลุ่มน�้าของ ประเทศ ซึ่งได้รับการตอบรับและให้ความร่วมมือ
แม่น�้ามูลและแม่น�้าชี ซึ่งไหลมาบรรจบกันที่บ้านท่าขอน เป็นอย่างดีจากหลายประเทศโดยเฉพาะจากประเทศ
ไม้ยุง ต�าบลบุ่งหวาย อ�าเภอวารินช�าราบ จังหวัด ออสเตรเลีย ซึ่งได้จัดท�าแผนส�ารวจและพัฒนาจนส�าเร็จ
อุบลราชธานี ลักษณะเป็นก้นกระทะของที่ราบสูงโคราช ตามสภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน แต่เป็นที่น่าเสียดาย
โดยธรรมชาติมีน�้าท่วมขังในฤดูน�้าหลาก ช่วงฤดูแล้ง ที่การด�าเนินงานทั้งหลายทั้งปวง ตั้งอยู่บนพื้นฐาน
แผ่นดินแห้งแตกระแหงขาดแคลนน�้า มีขี้เกลือขึ้น ที่เข้าใจว่า...
ดาดขาวทั่วไป กล่าวกันว่าเป็นที่มาของชื่อสถานที่ “...แต่ก่อนนี้คนเรายังโง่ ไม่รู้จักสร้างบ้านเรือน
ตามสภาพแวดล้อมที่เป็นปัญหาให้กับ “กุลา” นักเดินทาง อยู่อาศัย...???” ลําพังชู
ค้าขายไปตามเมืองต่าง ๆ ในทุ่งกว้างถึงกับต้อง “ร้องไห้” ...จัดท�าไปโดยไม่เข้าใจในแผ่นดินและชีวิต
เป็นภาพลวงตาที่ท�าให้ชาวไทยทั่วไปเข้าใจว่า “ทุ่งกุลา ของทุ่งกุลาร้องไห้ในอดีต ร่องรอยหลักฐานการตั้งถิ่นฐาน
ร้องไห้” เป็นถิ่นทุรกันดารที่ก�าลังจะกลายเป็นทะเลทราย ถูกหลงลืมและถูกท�าลาย แต่โชคดีที่ไม่ถึงกับพินาศ
ในทางตรงกันข้าม เมื่อฤดูฝนมาถึงแผ่นดินกลับเขียว ไปเสียทั้งหมด ยังคงเหลือและรื้อฟื้นกลับคืนให้เห็นอดีต
ชะอุ่มด้วยต้นข้าวจนไม่มีที่ว่างเว้น งอกงามด้วยเกลือ ของ “ทุ่งกุลา...” และเมื่อถึงเวลานั้น ลูกหลานไทยคง
ที่ถูกละลายเจือจางกลายเป็นปุ๋ย สร้างความอุดมสมบูรณ์ ไม่ต้อง “ร้องไห้” เพราะหลักฐานเหล่านั้นสามารถช่วยให้ มหาสารคาม
แก่แผ่นดินแห่งนี้มาโดยตลอด และไม่ได้เป็นแต่เพียงปุ๋ย คงคืนสภาพ ด้วยการเรียนรู้และจัดท�าแผนพัฒนาเป็น ลําสะแทด
เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้กับต้นข้าวเท่านั้น เกลือยังถูก รูปธรรมได้โดยอาศัยข้อมูลภาพจากดาวเทียม แม่นํ้ามูล
ใช้ในการด�ารงชีวิตช่วยถนอมอาหารเก็บกินไว้ได้ยาวนาน
และที่ส�าคัญเกลือนานาชนิดถูกน�ามาใช้สร้างผลิตภัณฑ์ อดีตทุ่งกุลาร้องไห้
และถลุงโลหะ อันเป็นปัจจัยส�าคัญที่ท�าให้ดินแดนอีสาน การส�ารวจพบหลักฐานแหล่งชุมชนโบราณและ
เป็นแหล่งทรัพยากรและเจริญรุ่งเรือง เป็นแผ่นดินอมตะ คูคลอง ท�าให้เข้าใจได้ว่า คนในอดีตที่อาศัยอยู่ในบริเวณ
ต่อเนื่องยาวนาน ทุ่งกุลาร้องไห้ มีความรู้ภูมิปัญญาเลือกหาแหล่งที่อยู่
“ทุ่งกุลาร้องไห้” เป็นเพียงบริเวณตัวอย่าง แสดง อาศัยตั้งเป็นชุมชน และการบริหารจัดการน�้าอย่างเป็น
ให้เข้าใจถึง “ดินแดนอีสาน..อดีตที่ถูกลืม” ถึงความเป็น ไปตามศักยภาพธรรมชาติ รู้จักใช้ประโยชน์ในแผ่นดิน
แหล่งภูมิปัญญา มีความเจริญรุ่งเรืองบนรากฐาน ด้วยการสร้างเครือข่ายคู-คลองเชื่อมโยงชุมชนต่าง ๆ
“วัฒนธรรมเกลือ” ที่มีมายาวนานแต่อดีตหลายพันปี เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนน�้าและการท�านาเหมืองนาฝาย 15 ํ 08’ N
เห็นได้จากหลักฐานในภาพจากดาวเทียม ที่แสดงให้ รวมถึงใช้ประโยชน์เพื่อการคมนาคมได้ในเวลาเดียวกัน 102 ํ 55’ E
เห็นถึงการตั้งถิ่นฐานที่มีการบริหารจัดการน�้าท�านา ภูมิปัญญาการตั้งถิ่นของคนในอดีตบริเวณ
ในระบบชลประทานบาราย ยืนยันถึงความเป็น “ดินแดน ทุ่งกุลาร้องไห้ ได้พบว่า ชุมชนโบราณตั้งอยู่ในบริเวณ
แห่งอารยธรรม” ที่มีมาแต่โบราณกาล ที่มีสภาพภูมิประเทศเป็นเนินล้อมรอบด้วยที่ราบ สามารถ
กักเก็บน�้าจืดเพื่อการอุปโภคบริโภค สร้างคู-คันดิน
โครงการพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ กักเก็บและยกระดับน�้าส่งเข้าระบบคูคลอง ที่บริหาร
โครงการพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ เป็นโครงการ จัดการด้วยระบบบาราย น�้าไหลเองตามธรรมชาติ สร้าง
พัฒนาท้องถิ่นที่รัฐบาลได้เข้ามาช่วยเพื่อพัฒนา ที่อยู่อาศัยบนเนินสูงกว่าระดับน�้าท่วมถึง และท�านา
เกษตรกรรม แก้ปัญหาความแห้งแล้ง-น�้าท่วม และ ในที่ราบทั้งระบบ นาเหมือง..นาฝาย และนาทางฟ้า
ความเป็นดินเค็มไม่เหมาะต่อการเกษตรกรรม ในปี มีภูมิปัญญาในการผลิตเกลือที่มีในธรรมชาติอย่างไม่มี
พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยกรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและ วันหมดสิ้น ผลิตขึ้นใช้ประโยชน์และค้าขาย สร้าง
สหกรณ์ ได้ท�าการส�ารวจดิน และวางแผนการใช้ ผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผารวมทั้งเครื่องโลหะ มีก�าแพง “ทุ่งกุลาร้องไห้”
ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่กว่า ๒.๑ ล้านไร่ ครอบคลุมพื้นที่ เมือง-คูเมืองล้อมรอบ ๙๒ แห่ง คูคลองชลประทาน
ต่อเนื่อง ๕ จังหวัด ได้แก่ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร จ�านวนมากกว่า ๖๕ สาย ขุดต่อเชื่อมถึงกันให้น�้าระบาย
ศรีสะเกษ และสุรินทร์ การพัฒนาพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ ไปตามภูมิประเทศจากทางทิศตะวันตกไปทางทิศ
มีมาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ท�าให้เกษตรกรในพื้นที่ ตะวันออก รวมความยาวประมาณไม่น้อยกว่า ๕๔๓
ทุ่งกุลาร้องไห้มีรายได้และความเป็นอยู่ดีขึ้น เป็นแหล่ง กิโลเมตร มีบารายหลายแห่งและแนวเขื่อนกั้นแม่น�้า
ผลิตข้าวหอมมะลิที่มีคุณภาพดีและปริมาณมากให้กับ เพื่อปิดกักและยกระดับน�้าเข้าสู่ระบบการชลประทาน
ประเทศไทยจนเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก โครงการพัฒนา
258 258 l