Page 270 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 270
เวียงหนองหาน-กุมภวาปี (1-1) 17 ํ 14’ N ดอนแก้ว (1-2) เวียงหนองหาน-อุดรธานี (2-1)
103 ํ 05’ E อ�ำเภอกุมภวำปี จังหวัดอุดรธำนี
N N
17 ํ 05’ N 2 km. 17 ํ 07’ N 400 m. 17 ํ 18’ N
102 ํ 58’ E © GISTDA_2012 103 ํ 00’ E © GISTDA_2012 103 ํ03’ E
“เวียงหนองหานกุมภวาปี” สกลนคร (3-1) เวียงหนองหาน-สกลนคร (3-2)
“เวียงหนองหานสกลนคร” อ�ำเภอเมืองฯ จังหวัดสกลนคร
และ “เวียงหนองหานอุดรธานี”
“เวียงหนองหาน-กุมภวาปี” “เวียงหนองหาน-สกลนคร”
และ ”เวียงหนองหาน-อุดรธานี” เป็นสถานที่มีนามเมือง
ปรากฏในวรรณกรรมท้องถิ่นอีสาน “ท้าวผาแดงนางไอ่” เรียกว่า
เมืองทีตานคร เอชะทีตา หรือ เอกทีตา ได้กล่าวถึงเรื่องราวอาเพท
เกิดแผ่นดินบ้านเมืองถล่มเป็นหนองหาน และในต�านานอุรังคธาตุ
ที่เกี่ยวกับประวัติสร้างพระธาตุพนมและเมืองหนองหาน ทั้ง ๓ เมือง
สร้างขึ้นต่างที่ ต่างสภาพแวดล้อม มีรูปแบบก�าแพงเมือง-คูเมือง
ล้อมรอบแสดงถึงสมัยนิยมที่แตกต่างกัน ล้วนเป็นข้อมูล
ปรากฏให้เห็นได้ในภาพจากดาวเทียมใช้ในการศึกษาเรื่องราว
ประวัติศาสตร์และค้นหาความจริงสัมพันธ์กับต�านานท้องถิ่น
“เวียงหนองหาน-กุมภวาปี” มีก�าแพงเมือง-คูเมืองตั้งอยู่
บนเนิน “ดอนแก้ว” เป็นเกาะด้านทิศใต้ของหนองหาน (1-1, 1-2)
ในเขตอ�าเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี เดิมเรียกว่า “บ้านบึงหม้อ”
ใน พ.ศ. ๒๔๑๕ รัชกาลที่ ๕ พระราชทานนามเมืองที่เป็นมงคล
ใหม่เป็น “เมืองกุมภวาปี” ได้พบหลักฐานเสมาหินและโบราณวัตถุ
แสดงถึงการตั้งถิ่นฐานที่มีมาก่อนยุคประวัติศาสตร์โดยเฉพาะ
ในช่วงทวารวดี มีก�าแพงเมือง-คูเมืองแบบเส้นโค้งมุมมนล้อมรอบ
บริเวณตามรูปเกาะคล้ายใบบัวหรือรูปหัวใจ
“เวียงหนองหาน-สกลนคร” “หนองหานหลวง“ หรือ
“กุลานคร” ชื่อในแผนที่ยุทธศาสตร์ครั้งพระบาทสมเด็จ
พระรามาธิบดีที่ ๑ ภาพจากดา วเทียม (3-1, 3-2) แสดงให้เห็น N
สภาพที่ตั้งเมืองบนฝั่งชิดขอบบึงด้านตะวันตกเฉียงใต้
มีก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบรูปแบบเส้นตรงมุมเหลี่ยม
พบหลักฐานการยุบตัวของเมืองส่วนตะวันออกเฉียงเหนือและ 17 ํ 08’ N 500 m. 17 ํ 05’ N
สร้างตระพังไว้ในเมือง และสร้างเสริมก�าแพงเมืองขึ้นใหม่ 104 ํ 08’ E © GISTDA_2012 104 ํ 06’ E
256 256 l