Page 19 - ภัมภีร์กศน.
P. 19
สรุป
การจัดกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต มี 3 รูปแบบ ดังนี้
1. การศึกษาพื้นฐาน ให้มีความรู้ความสามารถตามที่สังคมคาดหวัง
2. การศึกษาด้านวิชาชีพ เพื่อมีทักษะในการประกอบอาชีพและ
สามารถดำรงชีวิตในสังคม
3. การศึกษาตามอัธยาศัย จากประสบการณ์ บุคคล แหล่งเรียนรู้
เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และพัฒนาคุณภาพชีวิต
บุคคลจะเกิดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
โดยการบูรณาการการเรียนรู้ทั้งการศึกษานอกระบบ และการศึกษา
ตามอัธยาศัย นั่นคือ การเรียนรู้จากครอบครัว สู่การเรียนรู้จากสถาบัน
การศึกษา ชุมชน และสังคม เพื่อนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิต
การประกอบอาชีพ และในการปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลก
ผู้เรียบเรียง รุ่งอรุณ ไสยโสภณ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
อัญชลี ธรรมะวิธีกุล หน่วยศึกษานิเทศก์
ศรีสว่าง เลี้ยววาริณ หน่วยศึกษานิเทศก์
เอกสารและแหล่งอ้างอิง
สนอง โลหิตวิเศษ. 2544. ปรัชญาการศึกษาผู้ใหญ่และการศึกษานอก
ระบบ. กรุงเทพมหานคร : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ. (เอกสารโรเนียว)
สนอง โลหิตวิเศษ และสุนทร สุนันท์ชัย. 2548. การศึกษาตลอดชีวิต.
กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
สุมาลี สังข์ศรี. 2543. ยุทธศาสตร์การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อสังคมไทย
ในศตวรรษที่ 21. สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี
กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดี จำกัด.
เอกสารสาระหลักการและแนวคิดประกอบการดำเนินงาน กศน. : คัมภีร์ กศน.