Page 79 - E-Book คู่มือการปฏิบัติงานล่าม เพื่อการคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์
P. 79

4. ก�รรับผู้เสียห�ยเข้�คุ้มครองที่สถ�นคุ้มครองสวัสดิภ�พ

            ผู้เสียห�ยจ�กก�รค้�มนุษย์ จะมีนักสังคมสงเคราะห์หรือนักจิตวิทยา
            เจ้าหน้าที่เวรประจำาวันและผู้ดูแลผู้เสียหายซึ่งผู้รับการสงเคราะห์
            เป็นผู้มารับเรื่องจากหน่วยงานที่นำาส่ง มีการแจ้งสิทธิและระเบียบปฏิบัติ

            ของสถานคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ และดำาเนินการ
            ตรวจสอบทรัพย์สินและเงินก่อนนำาฝากเข้าระบบของสถานคุ้มครอง

                     5. ก�รสอบข้อเท็จจริงผู้เสียห�ย โดยการสัมภาษณ์

            ของนักสังคมสงเคราะห์ หรือนักจิตวิทยา ในบางกรณีที่ผู้เสียหายไม่สามารถ
            สื่อสารภาษาไทยได้ ต้องจัดให้มีล่ามแปลภาษาเข้าร่วมสอบข้อเท็จจริง
            ประเด็นที่สอบถามได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคลเบื้องต้น ประวัติครอบครัว

            การศึกษาพฤติกรรม สภาวะทางร่างกาย จิตใจ ชุมชน รวมถึง
            สภาวะแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ รวมถึงประเด็นของการตกเป็นผู้เสียหาย

            จากการค้ามนุษย์ เพื่อให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมต่อไป

                     6. ก�รประชุมทีมสหวิช�ชีพ เพื่อประเมินความพร้อม
            และวางแผนการให้ความช่วยเหลือ เป็นรายบุคคล

                     7. ก�รให้คว�มช่วยเหลือแก่ผู้เสียห�ยระหว่�งก�รคุ้มครอง

            สวัสดิภ�พ ดังนี้

                        ด้�นก�รแพทย์ นักสังคมสงเคราะห์ประสานสถานพยาบาล
            ในการตรวจสุขภาพให้ผู้รับการคุ้มครองทุกคน เช่น ตรวจเลือด โรคติดต่อ

            ทางเพศสัมพันธ์ เชื้อเอช ไอ วี (HIV) และการถูกทารุณกรรม ฯลฯ รวมถึง
            การตรวจหาอายุที่แท้จริง กรณีสงสัยว่าเป็นเด็ก

                        ด้�นสังคม นักสังคมสงเคราะห์และนักจิตวิทยาจะพูดคุย

            กับผู้เสียหายเพื่อค้นหาข้อมูลเชิงลึกในทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับผู้เสียหาย
            ทำาให้การช่วยเหลือผู้เสียหายเป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสมตามสภาพ




                        คู่มือการปฏิบัติงานล่ามเพื่อการคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์  77
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84