Page 81 - E-Book คู่มือการปฏิบัติงานล่าม เพื่อการคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์
P. 81

กรณีคดีแรงง�น ถ้าผู้เสียหายไม่ได้รับความเป็นธรรมในเรื่อง

             ค่าแรงจากนายจ้าง นักสังคมสงเคราะห์หรือนักกฎหมายจะติดต่อประสานงาน
             กับพนักงานตรวจแรงงาน ให้มาสัมภาษณ์ผู้เสียหายเกี่ยวกับข้อเท็จจริง
             ในการทำางาน และดำาเนินการเรียกร้องค่าจ้างค้างจ่ายจากนายจ้าง

             โดยพนักงานตรวจแรงงานจะออกหมายบังคับให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างค้างจ่าย
             กับผู้เสียหาย

                     8. ก�รเตรียมคว�มพร้อมของผู้เสียห�ยก่อนก�รส่งกลับ

             มีการให้ความรู้ด้านต่างๆ แก่ผู้เสียหาย เช่น การเข้าเมืองอย่างถูกต้อง
             ตามกฎหมาย การขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าว และนักสังคมสงเคราะห์

             แจ้งให้กองต่อต้านการค้ามนุษย์ทราบว่าผู้เสียหายมีความพร้อมที่จะเดินทาง
             กลับประเทศภูมิลำาเนา จากนั้นกองต่อต้านการค้ามนุษย์ดำาเนินการประสาน
             หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ประเทศต้นทางเพื่อกำาหนดวันที่จะส่งผู้เสียหาย

             กลับภูมิลำาเนา และประสานสถานทูตหรือสถานกงสุล เพื่อจัดทำาเอกสาร
             ในการเดินทางกลับภูมิลำาเนาของผู้เสียหาย

                     9. ก�รส่งกลับ เจ้าหน้าที่กองต่อต้านการค้ามนุษย์ร่วมกับ

             เจ้าหน้าที่สถานคุ้มครอง เดินทางไปส่งผู้เสียหายกลับประเทศ
             ณ ด่านชายแดน ตามที่ระบุในบันทึกข้อตกลงระหว่างประเทศ ทั้งนี้ จะมี
             การประชุม Case Conference เพื่อส่งต่อข้อมูลเพื่อให้ความช่วยเหลือ

             อย่างต่อเนื่อง มีการส่งมอบทรัพย์สิน และชี้แจงความช่วยเหลือทั้ง
             ทางการเงินและแผนการให้ความช่วยเหลือเป็นรายบุคคลร่วมกัน

                     10. ก�รติดต�มผล หน่วยงานให้บริการในพื้นที่ต้นทางและ

             ปลายทางจะมีการประสานงานกันเพื่อขอทราบผลในการคืนสู่สังคม ในกรณี
             ผู้เสียหายชาวต่างชาติที่เข้ารับการคุ้มครองในประเทศไทย จากประเทศ
             เมียนมา ลาว และกัมพูชา จะใช้โอกาสในการประชุมหารือเพื่อการจัดการ






                        คู่มือการปฏิบัติงานล่ามเพื่อการคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์  79
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86