Page 72 - รวมเลมวจยในชนเรยน 2-2562_Neat
P. 72

62


                       ได้ต้องอาศัยเกณฑ์หรือมาตรฐานเป็นแนวทางในการตัดสินคุณค่า การตัดสินใด ๆ ที่ไม่ได้

                       อาศัยเกณฑ์น่าจะเป็นลักษณะความคิดเห็นมากกว่าการประเมิน

                                     จากข้อความดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ

                       เรียนที่ครูสร้างขึ้น ควรค านึงจุดมุ่งหมายของกลุ่มการศึกษาด้านพุทธพิสัย และให้นักเรียน

                       บรรลุผลส าเร็จในด้านของความรู้ ทักษะทางด้านต่าง ๆ ตามแนวคิดและทฤษฎีการเขียน

                       ข้อสอบของบลูม

                               1.10.5 การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

                       แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในครั้งนี้เป็นแบบทดสอบอิงเกณฑ์

                                     บุญชม ศรีสะอาด (2545 : 59-61) กล่าวถึงแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ

                       เรียนแบบอิงเกณฑ์ ด าเนินตามขั้นตอนต่อไปนี้

                                     1. วิเคราะห์จุดประสงค์

                                          เนื้อหาขั้นแรกจะต้องท าการวิเคราะห์ดูว่ามีหัวข้อเนื้อหาใดบ้างที่ต้องการ

                       ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และที่จะต้องวัด แต่ละหัวข้อเหล่านั้นต้องการให้ผู้เรียนเกิด

                       พฤติกรรมหรือสมรรถภาพอะไร ก าหนดออกมาให้ชัดเจน

                                     2. ก าหนดพฤติกรรมย่อยที่จะออกข้อสอบ

                                         จากขั้นแรกพิจารณาต่อไปว่าจะวัดพฤติกรรมย่อยอะไรบ้าง อย่างละกี่ข้อ

                       พฤติกรรมย่อยดังกล่าวคือจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมนั่นเอง เมื่อก าหนดจ านวนข้อที่ต้องการ


                       จริงเสร็จแล้ว ต่อมาพิจารณาว่าจะต้องออกข้อสอบเกินไว้หัวข้อละกี่ข้อ ควรออกเกินไว้ไม่ต ่า
                       กว่า 25% ทั้งนี้หลังจากที่น าไปทดลองใช้ และวิเคราะห์หาคุณภาพของข้อสอบรายข้อแล้ว


                       จะตัดข้อที่มีคุณภาพไม่เข้าเกณฑ์ออก ข้อสอบที่เหลือจะได้ไม่น้อยกว่าข้อที่ต้องการจริง

                                     3. ก าหนดรูปแบบของข้อค าถามและศึกษาวิธีการเขียนข้อสอบ

                                         ขั้นตอนนี้จะเหมือนกับขั้นตอนที่ 2 ของการวางแผนสร้างข้อสอบแบบอิง

                       กลุ่มทุกประการ คือตัดสินใจว่าจะใช้ข้อค าถามรูปแบบใด และศึกษาวิธีเขียนข้อสอบ เช่น

                       ศึกษาหลักในการเขียนค าถามแบบนั้น ๆ ศึกษาวิธีเขียนข้อสอบเพื่อวัดจุดประสงค์ประเภท

                       ต่าง ๆศึกษาเทคโนโลยีในการเขียนข้อสอบของตน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77