Page 157 - Annual Report 2552
P. 157

1) รัฐบาลมีการก่อหนี้นอกงบประมาณลดลง

                      การกู้เงินภายใต้ พ.ร.ก. และ พ.ร.บ. วงเงินรวม 800,000 ล้านบาท ดังกล่าว เป็นการกู้เงินเพื่อนำาไปใช้ใน
            การฟื้นฟูเศรษฐกิจเร่งด่วน ภายใต้โครงการไทยเข้มแข็ง ซึ่งเป็นการกู้เงินเพิ่มเติมนอกกรอบเพดานกฎหมาย
            การก่อหนี้ในแต่ละปี (ร้อยละ 20 ของงบประมาณรายจ่าย รวมกับร้อยละ 80 ของงบประมาณชำาระคืนเงินต้น)

            ดังนั้น การยกเลิก พ.ร.บ. จึงเท่ากับเป็นการลดการก่อหนี้นอกงบประมาณและรักษาวินัยทางการคลังใน

            การควบคุมระดับหนี้สาธารณะต่อ GDP ให้อยู่ในระดับที่ไม่เสี่ยงต่อเสถียรภาพทางการเงินของประเทศ
                    2) รัฐบาลสามารถรักษาอายุเฉลี่ยของหนี้ภาครัฐไม่ให้ต่ำาเกินไป
                      สบน. ได้วางแผนการกู้เงินเพื่อโครงการไทยเข้มแข็ง โดยใช้ Bank Loan เพื่อให้มีความยืดหยุ่นใน

            การเบิกจ่ายและไม่มีผลกระทบต่ออุปทานของพันธบัตรรัฐบาล แต่เนื่องจาก Bank Loan เป็นเครื่องมือที่มีอายุสั้น

            ต่ำากว่า 2 ปี จึงทำาให้อายุ เฉลี่ยของ Portfolio ตราสารหนี้รัฐบาลสั้นลง มีการกระจุกตัวของการครบกำาหนดชำาระหนี้
            และความเสี่ยงเพิ่มขึ้นในการชำาระคืนเมื่อครบกำาหนด  ดังนั้น  การยกเลิก  พ.ร.บ.  จึงถือเป็นการรักษาอายุเฉลี่ย
            ของตราสารหนี้ไม่ให้สั้นลงจนเกิดความเสี่ยงต่างๆ


            รูปภาพที่ 2 : เปรียบเทียบแหล่งที่มาของความต้องการกู้เงินทั้ง 3 ส่วนแบ่งตาม ลักษณะเฉพาะ
                          ข้อจำากัด และเครื่องมือกู้เงิน


                                      กูอยางไรใหยืดหยุน - ยังยืน - พื้นฐานสมดุล




               ที่มาของความตองการกูเงิน      ลักษณะเฉพาะ/ขอจำกัด                   เครื่องมือกูเงิน



                                                                            พันธบัตรรัฐบาลประเภท Benchmark Bond
                                         มีวงเงินสม่ำเสมอและคาดการณ²ได     อยางสม่ำเสมอเพื่อสรางอัตราดอกเบี้ยอางอิง
                                         มีเพดานไมเกิน                     พันธบัตรรัฐบาลอัตราดอกเบี้ยคงที่ รุนอายุ 5,10,15,20,30  หลัก
               สวนที่ 1  การกูเพื่อชดเชยการขาดดุล    2. รอยละ 80 ของงบประมาณรายจายที่ตั้งไวสำหรับชำระคืนตนเงินกู  ปŒ (Loan Bond)
                                          1. รอยละ 20 ของงบประมาณรายจายประจำปŒและงบเพิ°มเติม
                                                                            พันธบัตรรัฐบาลอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุนอายุ 4 ปŒ
                                                                            (Floating rate Bond)
                                         กูไดตั้งแต ครม. อนุมัติ

                                                                            • ตั›วสัญญาใชเงิน (Promissory Note)
                                                                            • พันธบัตรรัฐบาลอัตราดอกเบี้ย (Saving Bond)  รอง
                                                                            • ตั›วเงินคลัง (T-bill)

                                         มีวงเงินและการครบกำหนดไมสม่ำเสมอ
                  การกูเพื่อปรับโครงสรางหนƒ้ขาดดุล  อายุเฉลี่ย  การกระจุกตัวใน 5 ปŒ ขางหนา  พันธบัตรรัฐบาลที่มีอายุไมชนกับ Benchmark Bond  หลัก
                                                           (รอยละของวงเงินรวม)
                                                  (ปŒ)
               สวนที่ 2                  หนº้ขาดดุล  4.5 7    45           (ไมจำเป¬นตองออกอยางสม่ำเสมอและตอเน¯°อง)
                                                                            ตั›วสัญญาใขเงิน (Promissory Note)
                                                               65
                                          หนº้ FIDF
                  การจัดการเงินกู FIDF
                                         กูเพื่อปรับโครงสรางหนº้ไดหลังจากครบกำหนดชำระ  พันธบัตรออมทรัพย² (Saving Bond)  รอง
                  การกอหนƒ้นอกงบประมาณเพื่อ  มีวงเงินสูงในเวลาสั้น         Bank Loan ระยะสั้นที่มีการทยอยเบิกจายตาม
               สวนที่ 3  การะตุนเศรษฐกิจเฉพาะกิจ  ไมมีเพดาน (ตามกฎหมาย)  ความคืบหนาของโครงการโดยเมื่อมีวงเงิน Bank Loan
                                         กูไดตั้งแตมีกฎหมายบังคับใชและ ครม. อนุมัติ
                                                                            ถึงระดับที่เหมาะสมอาจปรับโครงสรางเป¬นเครื่องมืออื่นตอไป
                  อื่นๆ (ไทยเขมแข็ง)

            ที่มา: ส่วนพัฒนาตลาดตราสารหนี้รัฐบาล สำานักพัฒนาตลาดตราสารหนี้




  156     รายงานประจำาปี 2552 ANNUAL REPORT 2009
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162