Page 82 - Annual Report2555
P. 82
ทศวรรษ
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
สัมภาษณ์อดีตผู้อ�านวยการส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
คุณพรรณี สถาวโรดม
(9 ตุลาคม พ.ศ. 2545 - 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549)
ในสมัยที่ด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำนบริหำรหนี้สำธำรณะจะขอกล่ำวเป็น 2 ช่วง
ช่วงแรก นับตั้งแต่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 21 กันยำยน 2541 ให้ควำมเห็นชอบ
ในกำรจัดตั้งส�ำนักงำนบริหำรหนี้สำธำรณะ หรือ สบน.เพื่อเป็นหน่วยงำนหลักในกำร
ก�ำกับดูแลงำนด้ำนกำรบริหำรจัดกำรหนี้สำธำรณะของประเทศ ทั้งในส่วนของกำรก่อหนี้
ในประเทศ รวมทั้งกำรช�ำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยเงินกู้ของรัฐบำล ซึ่งก�ำกับโดยกองธนำธิกำร กรมบัญชีกลำง และ
ในส่วนของกำรก่อหนี้จำกต่ำงประเทศ ซึ่งก�ำกับโดยกองนโยบำยเงินกู้ ส�ำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง ทั้งนี้ เพื่อให้งำน
ก�ำกับดูแลหนี้สำธำรณะของประเทศมีควำมเป็นเอกภำพและมีประสิทธิภำพสูงสุด เหตุผลและควำมจ�ำเป็นในกำรจัดตั้ง
สบน. กล่ำวได้ว่ำ สืบเนื่องจำกกำรเกิดวิกฤติเศรษฐกิจเมื่อกลำงปี 2540 ท�ำให้รัฐบำลมีควำมจ�ำเป็นต้องกู้เงินเป็น
จ�ำนวนมำก โดยเมื่อวันที่ 23 สิงหำคม 2540 รัฐบำลได้กู้เงินจำก IMF และมิตรประเทศ จ�ำนวน 14,500 ล้ำนเหรียญ
สหรัฐ และได้ทยอยเบิกจ่ำยเงินกู้เพื่อเสริมสร้ำงควำมมั่นคงของทุนส�ำรองเงินตรำของประเทศตำมล�ำดับ หลังจำกนั้น
นอกจำกรัฐบำลโดยกระทรวงกำรคลังจะมีพันธะในกำรจัดหำเงินกู้จำกต่ำงประเทศ ทั้งในรูปทวิภำคีและพหุภำคี เพื่อ
ใช้จ่ำยในกำรฟื้นฟูเศรษฐกิจและเสริมสร้ำงควำมมั่นคงของระบบกำรเงิน ทั้งในส่วนของตลำดเงินและตลำดทุนของ
ประเทศแล้ว รัฐบำลโดยกระทรวงกำรคลังยังมีพันธะในกำรบริหำรจัดกำรเงินกู้เพื่อชดใช้ควำมเสียหำยให้แก่กองทุน
เพื่อกำรฟื้นฟูและพัฒนำระบบสถำบันกำรเงิน หรือ FIDF ในวงเงินสูงถึง 1.4 ล้ำนล้ำนบำท ซึ่งเป็นควำมเสียหำยใน
ภำคกำรเงินอันเกิดจำกวิกฤติเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ยังไม่รวมกำรกู้เงินเพื่อชดเชยกำรขำดดุลงบประมำณและกำรกู้เงิน เพื่อ
กำรลงทุนของส่วนรำชกำรและรัฐวิสำหกิจต่ำงๆ ที่จะเกิดขึ้นในแต่ละปีงบประมำณ จำกควำมจ�ำเป็นดังกล่ำว นับเป็น
ครั้งแรกที่มีกำรกู้เงินมำเพื่อชดใช้ควำมเสียหำย ซึ่งเป็นกำรกู้เงินที่ไม่ก่อให้เกิดรำยได้แต่อย่ำงใด ประกอบกับมีวงเงิน
สูงถึง 1.4 ล้ำนล้ำนบำท จึงเป็นควำมท้ำทำยในกำรบริหำรจัดกำรเงินกู้ดังกล่ำว ซึ่งในเบื้องต้น คำดว่ำจะต้องใช้เวลำ
กว่ำ 30 ปี ในกำรช�ำระคืนเงินกู้ ดังนั้น ในฐำนะผู้น�ำองค์กรได้พิจำรณำแล้วเห็นว่ำ สิ่งแรกที่เรำจะต้องด�ำเนินกำร คือ
กำรสร้ำง สบน. ให้มีควำมมั่นคงและน่ำเชื่อถือ โดยปรับวัฒนธรรมขององค์กรให้มีจุดยืนร่วมกัน เพื่อประสำนกำรท�ำงำน
ของข้ำรำชกำรที่มำจำก 2 หน่วยงำน ซึ่งต้องท�ำควบคู่ไปกับกำรบูรณำกำรกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรกู้เงิน ซึ่งมีอยู่หลำยฉบับ
เพื่อควำมเป็นเอกภำพในกำรบริหำรจัดกำรเงินกู้และกำรค�้ำประกันเงินกู้ที่อยู่ในควำมรับผิดชอบของกระทรวง
กำรคลัง กำรก�ำหนดควำมรับผิดชอบที่ชัดเจนของหน่วยงำนในก�ำกับของรัฐ รัฐวิสำหกิจ และองค์กำรปกครองส่วน
ท้องถิ่น กำรสร้ำงควำมเข้มแข็งของสิ่งแวดล้อมภำยนอกที่จะเอื้ออ�ำนวยต่อกำรกู้เงิน คือ กำรพัฒนำตลำดตรำสำรหนี้
ในประเทศ รวมทั้งกำรแต่งตั้ง Primary Dealer กำรน�ำระบบ Electronics มำใช้ในกำรประมูลพันธบัตรรัฐบำล และ
กำรก�ำหนดตำรำงกำรออกพันธบัตรรัฐบำลอย่ำงเป็นระบบ ทั้งนี้ เพื่อสร้ำงอัตรำดอกเบี้ยอ้ำงอิง หรือ Benchmark ใน
ตลำดตรำสำรหนี้ไทย ในกำรนี้ สบน. ได้รับควำมร่วมมืออย่ำงดียิ่งจำกกระทรวงกำรคลังสหรัฐอเมริกำ ที่ส่งผู้เชี่ยวชำญ
มำร่วมท�ำงำนกับเรำเป็นเวลำกว่ำ 4 ปี ประกอบกับภำวะตลำดกำรเงินเอื้ออ�ำนวยตำมระดับกำรพัฒนำตลำดตรำสำรหนี้
และกำรฟื้นตัวทำงเศรษฐกิจของประเทศ ในชั้นนั้น สบน. จึงสำมำรถด�ำเนินกำรจนถึงขั้นกำรก�ำหนดกลยุทธ์ในกำร
บริหำรจัดกำรหนี้ในเชิงรุก และน�ำนวัตกรรมทำงกำรเงินที่มีกำรพัฒนำตลอดเวลำตำมกระแสโลกำภิวัตน์ มำใช้ในกำร
บริหำรจัดกำรหนี้สำธำรณะของประเทศให้เป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น
รายงานประจ�าปี 2555 : ส�ำนักงำนบริหำรหนี้สำธำรณะ
80