Page 93 - Annual Report 2558
P. 93

รายงานประจ�าปี 2558
                                                                                                  Annual Report 2015




                   คงที่นั้น ค่าเงินของสกุลในประเทศจะถูกผูกค่า (Pegged)  against the price of another currency or commodity .
                                                                                                                 4
                                                                4
                   กับค่าเงินสกุลอื่นหรือราคาสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodity)    The central bank would intervene and manipulate the
                   เพื่อเป็นการให้อ�านาจกับธนาคารกลางในการควบคุม  currency’s value by adopting monetary policies such
                   และรักษาเสถียรภาพของค่าเงินในประเทศ ทั้งนี้ ธนาคารกลาง  as open market operations, using international
                   จะท�าการแทรกแซงค่าเงินผ่านนโยบายการเงิน (Monetary  reserves to directly buy (sell) domestic currency when
                   Policy) เช่น การด�าเนินการผ่านตลาดการเงิน (Open  it depreciates (appreciates) beyond the pegged value.
                   Market Operations) ด้วยการใช้เงินส�ารองระหว่าง    The rationale behind the system is to grant more

                   ประเทศ (Foreign Reserves) ในการซื้อ (ขาย) สกุลเงิน  control to central banks to maintain their currency’s
                   ในประเทศเมื่อค่าเงินอ่อนค่าลง (แข็งค่าขึ้น) เกินจาก  value for stability.
                   ค่าคงที่ที่ผูกค่าไว้                                 The fixed system has become less popular in
                       ในปัจจุบัน ธนาคารกลางและประเทศส่วนใหญ่หันมา   recent years, in favour of the floating system where
                   ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว โดยมีปัจจัยที่ส่งผลกระทบ  the prices of currencies, like other goods or commodities,
                   ต่อความเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนไปตามกลไก      are driven by the market mechanisms of supply and

                   ตลาดอุปสงค์และอุปทานผ่านผู้เล่นต่างๆ ในตลาดเงินตรา  demand through various players such as importing
                   ต่างประเทศ ยกตัวอย่างเช่น บริษัทไทยที่ต้องน�าเข้าสินค้า  and exporting firms, financial institutions, speculators
                   ส�าหรับการผลิตจากสหรัฐฯ จะต้องท�าการแลกเปลี่ยน  and central banks. For instance, a Thai firm importing
                   เงินทุนเพื่อใช้ในการซื้อสินค้า โดยจะส่งผลให้อุปสงค์ของ  products from the US, in order to facilitate the

                   เงินสกุลบาทและอุปทานของเงินสกุลเหรียญสหรัฐเพิ่มขึ้น  transaction, will need to convert their capital from THB
                   และท�าให้เงินบาทอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเหรียญสหรัฐ  to USD in the foreign exchange market resulting in
                   นอกจากนี้ อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวมีข้อดีในการ    increasing THB’s supply and USD’s demand (THB
                   รองรับกลไกในการสมดุลการช�าระเงิน (Balance of   depreciating against the USD). Moreover, the flexible
                   Payment) โดยหากประเทศมีการขาดดุลการค้าและมี       rates allow automatic adjustment of the balance of
                   มูลค่าน�าเข้าที่มากกว่ามูลค่าส่งออก สกุลเงินของประเทศ  payment. A country with a deficit balance of trade will

                   นั้นจะอ่อนค่าลงซึ่งจะส่งผลให้สินค้าส่งออกมีราคาถูกลง  have more imports than exports and experience
                   และมีความสามารถในการแข่งขันในตลาดต่างประเทศ  depreciation in its currency. Weakening currency would
                   ที่สูงขึ้น และเมื่อประกอบกับราคาสินค้าน�าเข้าที่เพิ่มขึ้น  then improve the exporting goods’ competitiveness in
                   ดุลการค้าจะกลับคืนสู่ระดับสมดุลอย่างอัตโนมัติ     the international market, as well as making imports
                       ในช่วงวิกฤตการเงินปี 2540 ระบบอัตราแลกเปลี่ยน  more expensive. A natural result is the stabilising of

                   แบบคงที่ของประเทศไทยได้ล้มเหลวลงเมื่อรัฐบาลไม่มี  the currency and the balance of payment.
                   เงินส�ารองระหว่างประเทศเพียงพอในการรักษาค่าเงินบาท   The 1997 Asian Financial crisis saw the failure
                   ไว้ที่ 25 บาท ต่อเหรียญสหรัฐ โดยตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้นมา  of Thailand’s fixed exchange rate regime in which the





                   4  ประเทศส่วนใหญ่ในอดีตได้มีการใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่  4  In the past, most countries have adopted a fixed exchange rate
                    และผูกค่าเงินไว้กับราคาทองค�า เช่น ระบบมาตรฐานทองค�า (Gold   by pegging their currencies against the price of gold e.g. Gold
                    Standard) และระบบ Bretton Woods ในสหรัฐฯ ก่อนปี 2516  Standard and the Bretton Woods System in the US up until
                                                                      1973.



                                                                                                                91






        59-04-030_001-138 Annual New11-08_Y Uncoated.indd   91                                                    8/11/16   5:42 PM
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98