Page 90 - Annual Report 2558
P. 90

การพัฒนาธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตร

                (Bond Buy-Back Transaction)

                เพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการบริหารหนี้ของรัฐบาล


                นายสิทธานต์ เสถียรพัฒนากูล เศรษฐกรปฏิบัติการ

                หลักการและเหตุผลในการพัฒนาธุรกรรม BOnD               โดย สบน. ได้น�าเครื่องมือทั้ง 3 ชนิด มาประยุกต์ใช้
                Buy-BaCk TRanSaCTIOn                             ร่วมกันในการบริหารจัดการหนี้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

                   ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เป็นหน่วยงาน  อย่างไรก็ตาม สบน. ยังไม่มีเครื่องมือในการปรับโครงสร้าง
                หลักที่ท�าหน้าที่ในการระดมทุนให้กับรัฐบาล เพื่อให้รัฐบาล  หนี้พันธบัตรรัฐบาลโดยการน�างบช�าระหนี้ที่ได้รับจัดสรร
                สามารถน�าเม็ดเงินที่ได้ไปใช้ในการบริหารจัดการประเทศ  ในแต่ละปีมาประยุกต์ใช้ ดังนั้น ธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตร
                ให้เกิดสาธารณประโยชน์สูงสุดตามเป้าหมาย โดยในช่วง  (Bond Buy-Back Transaction) จะเป็นการเพิ่มช่องทาง
                4-5 ปีที่ผ่านมา รัฐบาลมีความต้องการใช้เงินในปริมาณ  บริหารเงินสดและงบช�าระหนี้ของรัฐบาลให้เกิดประโยชน์
                มาก ส�าหรับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศและ  และประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังสามารถลดยอด

                กระตุ้นเศรษฐกิจ ท�าให้ สบน. ต้องพัฒนาตลาดตราสารหนี้  หนี้คงค้างของ Benchmark Bond ที่มีแนวโน้มที่สูงขึ้น
                ในประเทศ ทั้งด้านเครื่องมือ ธุรกรรม และโครงสร้างของ  ต่อเนื่อง และยังสามารถดูดซับพันธบัตรรัฐบาลที่มี
                ตลาด เพื่อให้ตลาดตราสารหนี้สามารถรองรับการกู้เงิน  สภาพคล่องต�่าหรือมีอัตราดอกเบี้ยสูงเกินราคาตลาดได้
                ของภาครัฐและเอกชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน  ซึ่งจะเป็นการสร้างความยืดหยุ่นให้ สบน. ในการวางแผน

                โดยหนึ่งในเครื่องมือที่ส�าคัญที่สุด ได้แก่ Benchmark  การระดมทุนให้สอดคล้องกับสภาวะตลาดได้
                Bond หรือพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการสร้างอัตราดอกเบี้ย
                อ้างอิงให้กับประเทศ ซึ่งเป็นพันธบัตรที่มีวงเงินสูง ส่งผล  ธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตรคืออะไร
                ให้มีสภาพคล่องสูงตามไปด้วย อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน   ธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตร คือ การที่ผู้ออกพันธบัตร
                ยอดคงค้างของ Benchmark Bond แต่ละรุ่นมีวงเงินสูงถึง  (Issuer) ท�าการซื้อคืนพันธบัตรที่ตนเองเป็นผู้ออก โดยมี
                200,000 - 300,000 ล้านบาท ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสี่ยง  วัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น เพื่อลดยอดหนี้คงค้าง ลดภาระ

                ในการปรับโครงสร้างหนี้ในอนาคตได้ ดังนั้น สบน.   ต้นทุน ลดความเสี่ยงในการปรับโครงสร้างหนี้ ลดปริมาณ
                จึงท�าการศึกษาและพัฒนาเครื่องมือในการบริหารจัดการ  พันธบัตรที่ไม่มีสภาพคล่อง และลดปริมาณพันธบัตรที่มี
                หนี้ชนิดใหม่อย่างต่อเนื่อง ส�าหรับเตรียมความพร้อม  ราคาบิดเบือนราคาตลาด เป็นต้น
                และเพิ่มทางเลือกในการปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะ        ดังนั้น สบน. จึงเห็นควรพัฒนาธุรกรรม Bond Buy-
                ได้ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าในขณะนั้น ตลาดจะมีสภาวะที่มี  Back Transaction เพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการบริหาร

                ความผันผวนสูงก็ตาม                               จัดการหนี้พันธบัตรรัฐบาล ลดต้นทุน และลดความเสี่ยง
                   ในปัจจุบัน สบน. มีเครื่องมือหลักในการบริหารจัดการ  ในการปรับโครงสร้างหนี้ รวมไปถึงการน�างบช�าระหนี้ที่
                หนี้ที่ครบก�าหนดของรัฐบาล 3 ชนิด ได้แก่          ได้รับจัดสรรในแต่ละปีหรือกระแสเงินสดที่มีมาประยุกต์ใช้
                   1) การกู้เงินระยะสั้นเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ในวัน  ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด
                ครบก�าหนด (Back-to-Back)
                   2) การกู้เงินล่วงหน้าเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ (Pre-

                funding)
                   3) ธุรกรรมแลกเปลี่ยนพันธบัตร (Bond Switching)




                88





        59-04-030_001-138 Annual New11-08_Y Uncoated.indd   88                                                    8/11/16   5:42 PM
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95