Page 91 - Annual Report 2558
P. 91

รายงานประจ�าปี 2558
                                                                                                  Annual Report 2015




                   วิธีการท�าธุรกรรม Bond Buy-Back Transaction
                       ในต่างประเทศที่เป็นประเทศต้นแบบด้านการพัฒนา

                   ตลาดตราสารหนี้ของโลก เช่น สหราชอาณาจักร
                   สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น และนอร์เวย์ เป็นต้น
                   ได้ท�าการพัฒนาธุรกรรม Bond Buy-Back Transaction
                   ให้เป็นเครื่องมือหลักในการบริหารจัดการหนี้ของรัฐบาล
                   โดยมีวิธีการท�าธุรกรรม 2 วิธีหลัก ได้แก่

                       1) การซื้อคืนในตลาดโดยตรง (Secondary Market
                   Purchase) คือ การที่รัฐบาลน�าเงินไปซื้อคืนพันธบัตร
                   รัฐบาลในตลาดรอง ณ มูลค่าตลาด เสมือนเป็นผู้เล่น
                   ในตลาดรายหนึ่ง
                       2) การซื้อคืนโดยการเปิดประมูล (Reverse Auction)
                   คือ การที่รัฐบาลประกาศให้ผู้ถือครองพันธบัตรรัฐบาล

                   สามารถเข้าร่วมการประมูลเพื่อเสนอขายพันธบัตรคืนให้
                   แก่รัฐบาล โดยเสนอราคาผลตอบแทนของพันธบัตร และ
                   รัฐบาลจะซื้อคืนจากราคาที่ถูกที่สุดขึ้นไปจนครบวงเงิน
                   ที่ต้องการซื้อคืน

                       ทั้งนี้ แต่ละประเทศมีแนวทางการท�าธุรกรรม Bond
                   Buy-Back Transaction แตกต่างกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับระเบียบ
                   กฎหมาย ลักษณะของนักลงทุน โครงสร้างของตลาด   ลงทุนในตราสารหนี้ที่แตกต่างกัน สบน. จึงต้องท�าการ
                   รวมไปถึงแหล่งเงินที่น�ามาใช้ แต่ทุกประเทศมีวัตถุประสงค์  วิเคราะห์ธุรกรรมดังกล่าวในเชิงลึก เพื่อจะได้ทราบถึงข้อดี
                   ในการท�าที่คล้ายคลึงกัน คือ เพื่อลดยอดหนี้คงค้าง เพื่อลด  ข้อเสียของธุรกรรมดังกล่าวและน�ามาพัฒนาเพื่อประยุกต์
                   ความเสี่ยงในการปรับโครงสร้างหนี้ และลดจ�านวนพันธบัตร  ใช้ในการเพิ่มความคล่องตัวในการบริหารจัดการหนี้

                   ที่ไม่มีสภาพคล่อง โดยประเทศที่มีการท�าธุรกรรม Bond  พันธบัตรรัฐบาล และลดความเสี่ยงในการปรับโครงสร้างหนี้
                   Buy-Back Transaction เป็นประจ�า ได้แก่ สหราชอาณาจักร   นอกจากนี้ สบน. เห็นว่าการน�าธุรกรรม Bond
                   นอร์เวย์ และญี่ปุ่น เป็นต้น โดยจะมีการประชาสัมพันธ์  Buy-Back Transaction สามารถน�ามาพัฒนาต่อยอด
                   ข้อมูลให้กับผู้ร่วมตลาดตราสารหนี้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้  เพื่อเป็นเครื่องมือหลักในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ไทย
                   นักลงทุนมั่นใจและรับทราบถึงวิธีการ วงเงิน ช่วงเวลา   อีกทางหนึ่ง เช่น การลดจ�านวนพันธบัตรรัฐบาลรุ่นที่ไม่มี

                   และวัตถุประสงค์ในการท�าธุรกรรม                    สภาพคล่องหรือมีราคาบิดเบือนราคาตลาด ที่อาจสร้าง
                                                                     ความสับสนให้กับนักลงทุนในการค�านวณราคา (Mark-
                   การน�าธุรกรรม Bond Buy-Back Transaction   to-Market) ทั้งนี้ การน�าธุรกรรม Bond Buy-Back
                   มาปรับใช้ในประเทศไทย                             Transaction มาใช้อย่างเหมาะสมจะเป็นการสนับสนุน
                       สบน. อยู่ระหว่างการศึกษาธุรกรรม Bond Buy-Back  การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ไทย ให้เป็นแหล่งระดมทุน
                   Transaction ของต่างประเทศที่มีการท�าธุรกรรมเป็นประจ�า  ที่ยั่งยืนและมั่นคง ส่งเสริมตลาดตราสารหนี้ไทยให้เป็น

                   ซึ่งแต่ละประเทศมีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ โครงสร้าง  เสาหลักในตลาดเงินตลาดทุน และพัฒนาให้ประเทศไทย
                   ของตลาดตราสารหนี้ และมุมมองของนักลงทุนต่อการ     เป็นศูนย์กลางทางการเงินในภูมิภาคนี้



                                                                                                                89






        59-04-030_001-138 Annual New11-08_Y Uncoated.indd   89                                                    8/11/16   5:42 PM
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96