Page 78 - Annual Report 2557
P. 78
Annual Report 2014
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
2. ความแข็งแกรงเชิงสถาบัน เปนตัวชี้วัด government policy direction and investment
ประสิทธิภาพการดําเนินนโยบายของภาครัฐที่จะเปนปจจัย implementation that support economic acceleration
หลักในการกระตุนและขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ and country’s competitiveness. There are 4 main
ในระยะสั้น และแนวโนมการดําเนินการในระยะกลาง factors which are incorporated into credit risk
3. ความแข็งแกรงของภาคการคลัง เปนตัวชี้วัด assessment model.
สถานะทางการเงินของประเทศโดยทั่วไป โดยประเมินจาก 1. Economic Strength: is used to indicate
ระดับหนี้ของรัฐบาล ภาระทางการคลัง และความสามารถ economic resilience and ability to absorb unexpected
ในการจัดเก็บรายได risks that could occur from domestic and global
4. ความออนไหวตอเหตุการณเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น economic disturbances.
เปนตัวชี้วัดความสามารถในการรองรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น 2. Institutional Strength: is used to indicate
อยางฉับพลัน ซึ่งอาจสรางแรงกดดันตอการเงินภาครัฐ และ government effectiveness, which is a major driving
เพิ่มโอกาสในการผิดนัดชําระหนี้ โดยประเมินจากความเสี่ยง factor in stimulating economic growth in short-term
ของสถานะภาคตางประเทศ ภาคการธนาคาร และความเสี่ยง and medium-term growth prospects.
ทางการเมือง 3. Fiscal Strength: is an indicator to assess
ปจจุบัน สบน. ไดดําเนินการเกี่ยวกับอันดับความ country’s financial status by evaluating government
นาเชื่อถือของประเทศไทยในเชิงรุก โดยติดตอประสานงาน debt level, repayment budget expenditure and revenue
อยางใกลชิดกับบริษัทจัดอันดับความนาเชื่อถือ เพื่อชี้แจง collection capability.
ขอมูลและสถานการณทางเศรษฐกิจ การคลัง การลงทุน 4. Susceptibility to event risk: it indicates a
ภาครัฐ และการดําเนินมาตรการตางๆ ของรัฐบาลที่จะชวย country’s ability to tolerate shocks which may cause
สนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้ง pressure to public finance and possibility of credit
สรางความเขาใจที่ถูกตองเพื่อลดความกังวลเกี่ยวกับ default. This factor assesses score of external
สถานการณทางการเมืองในประเทศอยางสมํ่าเสมอ นอกจากนี้ vulnerability risk, banking system performance and
ยังแสดงใหเห็นถึงการปรับตัวที่ดีขึ้นของตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ political risk.
ที่สอดคลองกับสภาวการณทางเศรษฐกิจโลก ซึ่งเปนปจจัยสําคัญ Currently, PDMO proactively works on sovereign
ในการจัดอันดับความนาเชื่อถือและมุมมองความนาเชื่อถือ credit rating by closely coordinating with the credit
ของประเทศไทย นอกจากนี้ ผูบริหารและเจาหนาที่ของ rating agencies in order to clarify and provide
กระทรวงการคลังไดหารือกับผูบริหารระดับสูงของบริษัท information regarding country’s economic, fiscal, public
จัดอันดับความนาเชื่อถือตางๆ โดยตรง เพื่อชี้แจงแนวนโยบาย investment and operating government policies to
การพัฒนาประเทศที่ชัดเจนและหนักแนน ซึ่งจะชวย support economic growth. Our close engagement with
สรางความเขาใจที่ถูกตอง สามารถฟนฟูความเชื่อมั่นและ the agencies enables them to acquire correct
เปนประโยชนตอการวิเคราะหอันดับความนาเชื่อถือในที่สุด understanding and affirm investors about Thailand’s
situation. Besides, the management and staff of the
ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของประเทศไทย Ministry of Finance have had direct discussions with
ในอดีต – ปจจุบัน senior management of the credit rating agencies to
ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอันดับ clarify the policies to develop the country. This helps
ความนาเชื่อถือและมุมมองความนาเชื่อถืออันเนื่องมาจาก to build correct understanding and restore confidence,
การที่ความผันผวนของเศรษฐกิจโลก รวมทั้งความไมแนนอน and is useful for analyzing credit ratings.
77